Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Marsilea crenata
Marsilea crenata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Marsilea crenata
C.Presl
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Marsilea elata var. crenata (C.Presl) Sadeb.
ชื่อไทย::
-
ผักแว่น
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักแว่น
-
ผักลิ้นปี่
-
ผักลิ้นปี่, ผักแว่น, หนูเต๊าะ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Salviniales
วงศ์::
Marsileaceae
สกุล:
Marsilea
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:23 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Aquatic fern.
-
พืชล้มลุกจำพวกเฟิร์น สูงได้ถึง 20 ซม. มีไหลกลมเรียวยาว และมีเหง้าฝังตัวในโคลน ใบ ยอดอ่อนขดม้วนเป็นวงกลม ใบแก่มีใบย่อย 4 ใบ รูปไข่กลับ กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 1.3-1.8 ซม. ก้านใบตั้งขึ้นยาว 20 ซม. อับสปอร์ เป็นอับก้อนแข็งสีดำ แตกจากโคนก้านใบ จำนวน 1-2 อัน ขนาด 1.5-4 มม. ภายในบรรจุอับสปอร์เพื่อใช้ขยายพันธุ์
-
พืชล้มลุกจำพวกเฟิร์น สูงได้ถึง 20 ซม. มีไหลกลมเรียวยาว และมีเหง้าฝังตัวในโคลน ใบ ยอดอ่อนขดม้วนเป็นวงกลม ใบแก่มีใบย่อย 4 ใบ รูปไข่กลับ กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 1.3-1.8 ซม. ก้านใบตั้งขึ้นยาว 20 ซม. อับสปอร์ เป็นอับก้อนแข็งสีดำ แตกจากโคนก้านใบ จำนวน 1-2 อัน ขนาด 1.5-4 มม. ภายในบรรจุอับสปอร์เพื่อใช้ขยายพันธุ์
ระบบนิเวศ :
-
In paddy fields, grooves, streamlets, ponds or
marshy places, usually in open sunny places, common at low or medium altitudes.
การกระจายพันธุ์ :
-
Old World tropics and subtropics.
-
พบขึ้นทั่วไปในเขตร้อน ตามที่ชื้นแฉะหรือโผล่ขึ้นเหนือน้ำ บริเวณน้ำตื้น ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสด
-
พบขึ้นทั่วไปในเขตร้อน ตามที่ชื้นแฉะหรือโผล่ขึ้นเหนือน้ำ บริเวณน้ำตื้น ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ThroughoutThailand
-
ตาก, พระนครศรีอยุธยา, นครปฐม, หนองคาย
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร, ไม้ประดับ
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Carex pterocaulos
ไข่ปูส้ม
Rubus sorbifolius
ตะเคียนราก
Shorea foxworthyi
Loxogramme assimilis
Liparis assamica
Tricleocarpa fragilis
Previous
Next