Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sturnus contra
Sturnus contra
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sturnus contra
Linnaeus, 1758
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Asian Pied Starling
ชื่อไทย::
-
นกเอี้ยงด่าง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Sturnidae
สกุล:
Gracupica
ปีที่ตีพิมพ์:
1998
วันที่อัพเดท :
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
วันที่สร้าง:
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็ก (24 ซม.) ตัวเต็มวัยบริเวณหัวคอหอยและอกตอนบนสีดำ มีลายแถบสีขาวที่หน้าผากและด้านข้างของหัว ด้านบนลำตัวสีออกดำ ตะโพกและช่วงไหล่มีลายพาดสีขาว ด้านล่างลำตัวสีขาว ขนปีกด้านล่างสีขาว ตาสีขาวแกมเทา วงรอบเบ้าตาสีส้ม โคนปากสีแดงแกมสีส้ม นิ้วสีเหลือง
ระบบนิเวศ :
-
พบตามทุ่งโล่ง บริเวณใกล้แหล่งน้ำ และบริเวณกสิกรรม อาหารคือ ผลไม้ ธัญพืช แมลงและตัวหนอนต่างๆ พบเป็นประจำตามสองข้างทาง เมื่อมีสิ่งรบกวนจะบินหนีและบินลงมายังที่เดิมเมื่อเห็นว่าปลอดภัยแล้ว
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
น่าน
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ทำรังเป็นรูปทรงกลม หยาบๆ โดยใช้ฟางข้าว หญ้าแห้ง รากและกิ่งไม้เล็กๆ มาวางซ้อนทับกัน วางรังตามยอดไม้หรือกิ่งไม้ระดับสูง ในแต่ละรังมีไข่ 4-6 ฟอง ไข่สีน้ำเงิน ระยะเวลาฟักไข่ 15-16 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Phthonandria atrilineata
Barbichthys nitidus
ตะเพียนทรายพม่า
Puntius burmanicus
Moolgarda seheli
งูต้องไฟ
Boiga nigriceps
Lioconcha polita
Previous
Next