Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Schoutenia glomerata
Schoutenia glomerata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Schoutenia glomerata
King
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
รวงผึ้ง
ชื่อท้องถิ่น::
-
สายน้ำผึ้ง น้ำผึ้ง
-
น้ำผึ้ง (กรุงเทพฯ) , สายน้ำผึ้งและดอกน้ำผึ้ง (ภาคเหนือ)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Malvaceae
สกุล:
Schoutenia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 5 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 4-9 ซม. โคนใบสอบเบี้ยว ปลายใบแหลม เส้นใบออกจากโคนใบ 3 เส้น ชัดเจน ดอกสีเหลืองเข้ม กลิ่นหอม ออกเป็นช่อแน่นตามซอกใบ กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉกคล้ายรูปดาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.2-1.5 ซม. ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้จำนวนมาก ผลเป็นผลแห้ง ทรงกลม ขนาด 0.5-1 ซม. มีกลีบรองดอกติดอยู่
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 5 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 4-9 ซม. โคนใบสอบเบี้ยว ปลายใบแหลม เส้นใบออกจากโคนใบ 3 เส้น ชัดเจน ดอกสีเหลืองเข้ม กลิ่นหอม ออกเป็นช่อแน่นตามซอกใบ กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉกคล้ายรูปดาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.2-1.5 ซม. ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้จำนวนมาก ผลเป็นผลแห้ง ทรงกลม ขนาด 0.5-1 ซม. มีกลีบรองดอกติดอยู่
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพันธุ์ไม้เฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบเฉพาะที่ดอยสุเทพ-ปุย จ.เชียงใหม่ บริเวณป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงประมาณ 1,000 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
-
เป็นพันธุ์ไม้เฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบเฉพาะที่ดอยสุเทพ-ปุย จ.เชียงใหม่ บริเวณป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงประมาณ 1,000 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลำต้น : ลำต้นแตกกิ่งต่ำ กิ่งค่อนข้างเล็กเรือนยอดเป็นพุ่มมน
ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปแผ่นใบสองข้างไม่เท่ากัน ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียว ด้านล่างสีน้ำตาลอมนวล
ดอก : ดอกมีกลิ่นหอมตลอดทั้งวัน บานได้นาน ๗ – ๑๐ วัน ช่อดอกดกเกิดตามซอกใบเป็นช่อสั้น โคนกลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกออกเป็น ๕ แฉกคล้ายรูปดาว ไม่มีกลีบดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมากซึ่งส่วนที่มองเห็นเป็นสีเหลืองเหมือนดอกนั้นเป็นเกสรตัวผู้รวมกันเป็นกระจุก เมื่อบานเต็มที่ดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑.๕ ซม. มีกลิ่นหอม เมื่อดอกบานพร้อมกันทั้งต้น จะดูสวยงามอร่ามตาและส่งกลิ่นหอมชื่นใจ
ผล : เป็นผลแห้ง ทรงกลม มีขน เมื่อแก่จะไม่แตก ขนาด ๐.๕-๑ เซนติเมตร
การขยายพันธุ์ :
-
การตอนกิ่ง และปักชำกิ่ง หรืออาจใช้การเพาะเมล็ดก็ได้ การตอนกิ่ง เป็นวิธีการที่เหมาะสมแต่ต้องใช้ฮอร์โมนในการเร่งรากจึงจะได้ผลดีในการขยายพันธุ์
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ไทรใบขน
Ficus fulva
Bulbophyllum nipondhii
กะอวม
Acronychia pedunculata
Camchaya spinulifera
Loxogramme duclouxii
Merremia emarginata
Previous
Next