Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rothmannia sootepensis
Rothmannia sootepensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Rothmannia sootepensis
(Craib) Bremek.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
สะแล่งหอม'ไก๋
-
สะแล่งหอมไก๋
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Rubiaceae
สกุล:
Rothmannia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงถึง 10 เมตร ใบ เดี่ยว ออกตรงข้าม ตรงข้อมัก มี 3 ใบ รูปรีถึงขอบขนาน กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 10-12 ซม. ปลายใบแหลม ดอก สีขาว ออกเป็นช่อ 1-3 ดอก ดอกย่อยบานเต็มที่ กว้างถึง 6 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว เป็นหลอด ยาว 1.5 ซม. ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก โคนเชื่อมกัน เป็นหลอดยาว ปลายแยกเป็น 5 กลีบ โคนกลีบด้านใน มีประ สีม่วงแดง เกสรผู้ 5 อัน ผล เป็นผลเดี่ยว สีเขียว รูปกลมรี ผิวมัน ขนาด 2.5-3.3 ซม. ปลายผลมีกลีบรองดอก ติดอยู่ เมล็ดกลมแบน จำนวนมาก
-
ไม้ต้น สูงถึง 10 เมตร ใบ เดี่ยว ออกตรงข้าม ตรงข้อมัก มี 3 ใบ รูปรีถึงขอบขนาน กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 10-12 ซม. ปลายใบแหลม ดอก สีขาว ออกเป็นช่อ 1-3 ดอก ดอกย่อยบานเต็มที่ กว้างถึง 6 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว เป็นหลอด ยาว 1.5 ซม. ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก โคนเชื่อมกัน เป็นหลอดยาว ปลายแยกเป็น 5 กลีบ โคนกลีบด้านใน มีประ สีม่วงแดง เกสรผู้ 5 อัน ผล เป็นผลเดี่ยว สีเขียว รูปกลมรี ผิวมัน ขนาด 2.5-3.3 ซม. ปลายผลมีกลีบรองดอก ติดอยู่ เมล็ดกลมแบน จำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ตามป่าผลัดใบและ ป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงถึง 1,000 เมตร ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ตามป่าผลัดใบและ ป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงถึง 1,000 เมตร ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระแก้ว
-
ลำปาง, ตาก
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
พะเยา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Uraria poilanei
มะไฟจีน
Clausena lansium
Anisoptera costata
Dendrobium cowenii
Elephantopus mollis
Coelogyne schwadtkii
Previous
Next