Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Curcuma alismatifolia
Curcuma alismatifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Curcuma alismatifolia
Gagnep.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Hitcheniopsis alismatifolia (Gagnep.) Loes.
ชื่อสามัญ::
-
Siam tulip
ชื่อไทย:
-
ปทุมมา
-
ขมิ้นโคก
ชื่อท้องถิ่น::
-
ปทุมมา
-
กระเจียว
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Curcuma
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
In open area in pine forest, deciduous forest, shallow swamp on sandy soil from near sea level to 1300 m. alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Laos, Cambodia.
-
พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกมักขึ้นในที่โล่ง หรือป่า ผลัดใบ ในดินปนทรายที่ชุ่มน้ำ ต่างประเทศพบในลาว และกัมพูชา
-
พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกมักขึ้นในที่โล่ง หรือป่า ผลัดใบ ในดินปนทรายที่ชุ่มน้ำ ต่างประเทศพบในลาว และกัมพูชา
-
พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกมักขึ้นในที่โล่ง หรือป่า ผลัดใบ ในดินปนทรายที่ชุ่มน้ำ ต่างประเทศพบในลาว และกัมพูชา
-
พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกมักขึ้นในที่โล่ง หรือป่า ผลัดใบ ในดินปนทรายที่ชุ่มน้ำ ต่างประเทศพบในลาว และกัมพูชา
-
ลาว กัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Loei,MahaSarakam,NakhonPhanom,SakonNakhon,Chaiyaphum,SiSaKet,Surin,
Chanthaburi,ChonBuri,PrachinBuri
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 60 ซม. ใบรูปรีแคบ สีเขียวมีสีม่วงตรงเส้นกลางใบ ช่อดอกออกกลางกลุ่มใบ ใบประดับส่วนล่างสีเขียวอ่อน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู อาจมีแต้มสีเขียวอ่อน ขาว หรือชมพูเข้มที่ปลาย กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว กลีบปากสีม่วง ส่วนโคนสีขาว อับเรณูสีขาว ไม่มีเดือย
-
ไม้ล้มลุก
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 60 ซม. ใบรูปรีแคบ สีเขียวมีสีม่วงตรงเส้นกลางใบ ช่อดอกออกกลางกลุ่มใบ ใบประดับส่วนล่างสีเขียวอ่อน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู อาจมีแต้มสีเขียวอ่อน ขาว หรือชมพูเข้มที่ปลาย กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว กลีบปากสีม่วง ส่วนโคนสีขาว อับเรณูสีขาว ไม่มีเดือย
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 60 ซม. ใบรูปรีแคบ สีเขียวมีสีม่วงตรงเส้นกลางใบ ช่อดอกออกกลางกลุ่มใบ ใบประดับส่วนล่างสีเขียวอ่อน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู อาจมีแต้มสีเขียวอ่อน ขาว หรือชมพูเข้มที่ปลาย กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว กลีบปากสีม่วง ส่วนโคนสีขาว อับเรณูสีขาว ไม่มีเดือย
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 60 ซม. ใบรูปรีแคบ สีเขียวมีสีม่วงตรงเส้นกลางใบ ช่อดอกออกกลางกลุ่มใบ ใบประดับส่วนล่างสีเขียวอ่อน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู อาจมีแต้มสีเขียวอ่อน ขาว หรือชมพูเข้มที่ปลาย กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว กลีบปากสีม่วง ส่วนโคนสีขาว อับเรณูสีขาว ไม่มีเดือย
-
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 30-60 เซนติเมตร ลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า ใบ เดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 4-8 เซนติเมตร ยาว 30-50 เซนติเมตรปลายแหลม โคนสอบ ดอก แบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายลำต้นเทียม ใบประดับเรียงเวียน สีเขียว ใบประดับปลายช่อสีชมพู กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอกเชื่อมติดกัน รูปกรวย ปลายแยก 3 กลีบ เกสรเพศผู้เป็นหมันคล้ายกลีบปาก สีม่วง โคนสีขาว ปลายแยก 2 กลีบ เกสรเพศผู้ 1 เกสรรังไข่ใต้วงกลีบ ผล แบบผลแห้งแตก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ออกดอกฤดูฝน
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด แยกกอ
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Anoectochilus albolineatus
Homalomena truncata
ชิงช้าชาลี
Tinospora baenzigeri
Landoltia punctata
Combretum deciduum
Syzygium formosana
Previous
Next