Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pteris nepalensis
Pteris nepalensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pteris nepalensis
H.Itô
Status:
SYNONYM
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Pteridaceae
สกุล:
Pteris
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:46 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:46 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial fern.
-
ใบประกอบแบบขนนกเกือบ 2 ชั้น ยาวถึง 64 เซนติเมตร ก้านใบยาว 29-31 เซนติเมตร ก้านใบแกนราคิสสีแดง แผ่นใบยาว 29 เซนติเมตร กว้าง 27 เซนติเมตร พินนี 4-5 คู่ เรียงตรงข้าม คู่ที่ 2 จากโคนใบยาวที่สุด 12.5-14.0 เซนติเมตร กว้าง 1.8-2.5 เซนติเมตร และค่อยๆหยักลดขนาดไปที่ปลายใบ basiscopic pinnule ยาว 9 เซนติเมตร กว้าง 1.3 เซนติเมตร ระยะห่างของเส้นกลางใบแฉก ซอรัสค่อนไปปลายแฉก ยาว 0.7 เซนติเมตร จนถีง 1 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
On humus-rich ground in light shade near the top of mountain, about 2,500 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
E Himalaya.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai
-
อุดรธานี
-
เชียงใหม่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นบนดิน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, กิ่วแม่ปาน
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Peristylus mannii
Piper arcuatum
ผักขี้หูด
Raphanus sativus
Callistemon lanceolatus
Pseudopogonatherum contortum
Calanthe clavata
Previous
Next