-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดกลาง (46 ซม.) ในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์และตัวไม่เต็มวัยลำตัวด้านบนจะเป็นสีน้ำตาล หัวและอกจะเป็นสีน้ำตาลออกเหลืองและมีลายขีดสีน้ำตาลเข้ม ท้องและขนปีกด้านล่างสีขาว เวลาบินจะเห็นเป็นสีขาวเป็นส่วนใหญ่ ในฤดูผสมพันธุ์บริเวณหัวและคอเป็นสีน้ำตาลแก่ หลังสีดำแกมเทา อกสีแดงเลือดนกปนน้ำตาล
-
บริเวณปากเหลืองปลายปากดำ หัว คอและอกสีน้ำตาลเหลืองมีลายขีดหนาสีน้ำตาลเข้มลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมเทาเข้ม ลำตัวด้านล่างสีขาว แข้งและตีนสีเหลืองหรือแกมเขียว ขณะบินเห็นปีกและหางสีขาว ปลายปีกสีคล้ำากว่านกยางกรอกพันธุ์ชวาในฤดูผสมพันธุ์ ปากเหลืองสดปลายดำ หนังรอบตาสีเขียวแกมเหลือง หัวคอและอกสีน้ำตาล
แดงเข้มแกมเลือดหมู หลังและขนคลุมไหล่สีเทาดำ แข้งและตีนสีแดง
-
ขนาด 45-52 เซนติเมตร คล้ายกับนกยางกรอกพันธุ์ชวามาก
ปากตรงแหลม ปลายปากสีดำ โคนปากสีเหลือง หัว หน้า ท้ายทอย และอกมีขีดสีเข้มกระจายลงมาถึงท้อง ลำตัวด้านบน ขนคลุมหลังสีน้ำตาลอ่อน ปีกสีขาวมองเห็นได้ชัดในขณะบิน หางสีขาว ลำตัวด้านล่าง คอ และอกมีลายขีดสีน้ำตาล ท้องตอนล่างสีขาว แข้งและตีนสีเหลืองเขียว ฤดูผสมพันธุ์ หนังโคนปากใกล้ดวงตาสีเหลืองเขียว หัว คอ ท้ายทอย และอกสีน้ำตาลแดงเข้ม ขนคลุมหลังสีเทาเข้ม แข้งและตีนสีเหลือง เสียงร้อง “กร่อก -กร่อก ”
-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
นอกฤดูผสมพันธุ์ : ปากเหลืองปลายปากดำ หัว คอ และอกน้ำตาลเหลืองมีลายขีดหนาสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมเทาเข้ม ลำตัวด้านล่างขาว แข้งและตีนเหลืองหรือแกมเขียว ขณะบินเห็นปีกและหางขาว บางตัวปลายปีกสีคล้ำกว่ายกยางกรอกพันธุ์ชวา ฤดูผสมพันธุ์ : ปากเหลืองสดปลายดำ หนังรอบตาเขียวแกมเหลือง หัว คอ และอกน้ำตาลแดงเข้มแกมเลือดหมู หลังและขนคลุมไหล่เทาดำ แข้งและตีนแดง
-
ระบบนิเวศ :
-
ทุ่งนาและพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม
-
พบได้ทั่วไปตามทุ่งนา หนองน้ำ ชายน้ำ และป่าชายเลน มักเกาะกิ่งไม้แห้งหรือกอไผ่ที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำเพื่อพักผ่อนตากแดด ไช้ขน รวมทั้งการนอนหลับในตอนกลางคืน กินสัตว์น้ำและแมลงเป็นอาหาร วิธีการหาอาหารจะยืนบนพืชลอยน้ำเพื่อจ้องหาเหยื่อที่หลบอาศัยโต้พืชน้ำ หรือว่ายน้ำเข้ามา
-
ทุ่งนา และพื้นที่ชุ่มน้ำต่างๆ
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
นาข้าว แอ่งน้ำขังในพรุ
-
ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
สุราษฏร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
-
พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เชียงราย
-
การกระจายพันธุ์ :
-
นกอพยพ