Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Phragmites vallatoria
Phragmites vallatoria
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Panicum repens
L.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
common reed., flute reed
ชื่อไทย:
-
หญ้าแขม
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าแขม (ปราจีนบุรี)., หญ้าลาโพ (ตรัง)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Phragmites
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 19:06 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 19:06 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี ขึ้นในที่ชุ่มน้ำแต่ก็พบขึ้นในที่ดอนด้วย ลักษณะคล้ายต้นอ้อ ลำต้นกลวง ตั้งตรง แผ่นใบมีริ้ว ใบเรียบ ขอบใบมีรอยหยักขนครุย (ciliate) และสากมือ ลิ้นใบ (ligule) เป็นแผ่นขอบลุ่ยเป็นเส้น (membranous frayed) ยาวประมาณ 1.0 มิลลิเมตร มีหูใบ (auricle) ออกดอกช่วงเดือนมิถุนายน ช่อดอกออกที่ปลายยอดแบบช่อแยกแขนง (panicle) มีขนาดใหญ่ กลุ่มช่อดอกย่อย spikelet)มีดอกย่อย(floret) 8-10 ดอก ดอกแต่ละดอกเกาะแกนช่อดอกห่างกันอย่างชัดเจนทำให้มองเห็นเส้น ไหมสีเงินบนแกนชัดเจน ซึ่งแตกต่างจากของหญ้าพงโดยในหญ้าพงเส้นไหมเกิดอยู่ที่กาบรองดอก (lemma) ดอกล่างสุดมีอับเกสร (anther) 3 อับ แต่ดอกบนๆมีเพียง 2 อับ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ลำต้นกลวง ตั้งตรง สูง 2.5-3.5 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.0-1.5 เซนติเมตร มีลำต้นใต้ดิน (rhizome) ที่แข็งแรง ใบเป็นแบบใบหอก (lanceolate) ใบเรียวยาวไปที่ปลายใบ (acuminate) ใบยาว 30-50 เซนติเมตร กว้าง 2.5-3.0 เซนติเมตร กาบใบเรียบสีเขียวเข้ม ยาว 12.0-25.0 เซนติเมตร ช่อดอก (inflorescence) ยาว 40-50 เซนติเมตร ส่วนของHeadยาว 20-30 เซนติเมตร
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
ที่มาของข้อมูล
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lophosiphonia
กูดแดง
Stenochlaena palustris.
Tetrastigma godefroyanum
ไข่เขียว
Parashorea stellata
Embelia pulchella
เถากระดึงช้าง
Argyreia lanceolata
Previous
Next