Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Peristrophe lanceolaria
Peristrophe lanceolaria
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Peristrophe lanceolaria
(Roxb.) Nees
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
จ๊าฮ่อม
-
หว้าชะอำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
หว้าชะอำ กระดองเต่าหัก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Acanthaceae
สกุล:
Dicliptera
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามกัน รูปหอก กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 8-14 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ดอก สีชมพูหรืออมม่วง ออกเป็นช่อจากซอกใบหรือปลายยอด ดอกย่อยบานเต็มที่ กว้าง 2.5-3.5 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายกลีบแยก เป็นสองปาก เกสรผู้ 2 อัน ผล เป็นฝักรูปกระสวย ยาวประมาณ 1.5 ซม. แก่แล้วแตก เมล็ดขนาดเล็ก รูปไข่แบน
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามกัน รูปหอก กว้าง 2.5-6 ซม. ยาว 8-14 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ดอก สีชมพูหรืออมม่วง ออกเป็นช่อจากซอกใบหรือปลายยอด ดอกย่อยบานเต็มที่ กว้าง 2.5-3.5 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายกลีบแยก เป็นสองปาก เกสรผู้ 2 อัน ผล เป็นฝักรูปกระสวย ยาวประมาณ 1.5 ซม. แก่แล้วแตก เมล็ดขนาดเล็ก รูปไข่แบน
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย เมียนม่าห์ ประเทศไทย พบบริเวณภาคเหนือ ตามชายป่าดิบและที่ชื้น ออกดอกช่วงเดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
อินเดีย เมียนม่าห์ ประเทศไทย พบบริเวณภาคเหนือ ตามชายป่าดิบและที่ชื้น ออกดอกช่วงเดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
คำมอกหลวง แสลงหอมไก๋ หอมไก๋ (ลำปาง), ไข่เน่า (นครพนม), ผ่าด้าม ยางมอกใหญ่ (นครราชสีมา), คำมอกช้าง (ภาคเหนือ)
Gardenia sootepensis
Hutch.
Aristolochia yalaensis
Licuala spinosa
กาละเม็ด
Cordia clarkei
ระฆังทอง
Pauldopia ghorta
Curculigo orchioides
Previous
Next