-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้รอเลื้อยหรือไม้พุ่มขนาดกลาง ปลายกิ่งก้าน มีสีเขียว มีหนามโค้งแข็งเป็นคู่ตามข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี แกมขอบขนาน กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ดอกสีขาวนวลแกมเหลือง กลิ่นหอมแรงในตอนกลางคืน ออกเป็นกระจุกตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เมื่อบานขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. เกสรผู้ 5 อัน เกสรเมียรูปกระสวย สีขาว ผลกลมรี สีเขียว เมื่อแก่สีดำ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ส่วนก้นนูนเป็นวง เมล็ดขนาดเล็ก มีจำนวนมาก
-
ไม้รอเลื้อยหรือไม้พุ่มขนาดกลาง ปลายกิ่งก้าน มีสีเขียว มีหนามโค้งแข็งเป็นคู่ตามข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี แกมขอบขนาน กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ดอกสีขาวนวลแกมเหลือง กลิ่นหอมแรงในตอนกลางคืน ออกเป็นกระจุกตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เมื่อบานขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. เกสรผู้ 5 อัน เกสรเมียรูปกระสวย สีขาว ผลกลมรี สีเขียว เมื่อแก่สีดำ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ส่วนก้นนูนเป็นวง เมล็ดขนาดเล็ก มีจำนวนมาก
-
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอาฟริกาเขตร้อน ออกดอกเดือนธันวาคม-มกราคม
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอาฟริกาเขตร้อน ออกดอกเดือนธันวาคม-มกราคม
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้รอเลื้อยมีหนาม
ใบเดี่ยว : เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอก : เป็นช่อกระจุก ออกที่ซอกใบ ดอกสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ดอกมีกลิ่นหอมแรงในเวลากลางคืน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 กลีบ สีเขียวอ่อน กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ บานตั้งฉากกับหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก รังไข่ใต้วงกลีบ
ผล : มีเนื้อหลายเมล็ด สุกสีดำ
-
ไม้รอเลื้อยมีหนาม
ใบเดี่ยว : เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอก : เป็นช่อกระจุก ออกที่ซอกใบ ดอกสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ดอกมีกลิ่นหอมแรงในเวลากลางคืน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 กลีบ สีเขียวอ่อน กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ บานตั้งฉากกับหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก รังไข่ใต้วงกลีบ
ผล : มีเนื้อหลายเมล็ด สุกสีดำ
-
ไม้รอเลื้อยมีหนาม
ใบเดี่ยว : เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอก : เป็นช่อกระจุก ออกที่ซอกใบ ดอกสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ดอกมีกลิ่นหอมแรงในเวลากลางคืน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 กลีบ สีเขียวอ่อน กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ บานตั้งฉากกับหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก รังไข่ใต้วงกลีบ
ผล : มีเนื้อหลายเมล็ด สุกสีดำ
-
ไม้รอเลื้อยมีหนาม
ใบเดี่ยว : เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอก : เป็นช่อกระจุก ออกที่ซอกใบ ดอกสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ดอกมีกลิ่นหอมแรงในเวลากลางคืน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 กลีบ สีเขียวอ่อน กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ บานตั้งฉากกับหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก รังไข่ใต้วงกลีบ
ผล : มีเนื้อหลายเมล็ด สุกสีดำ
-
ไม้รอเลื้อยมีหนาม
ใบเดี่ยว : เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอก : เป็นช่อกระจุก ออกที่ซอกใบ ดอกสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ดอกมีกลิ่นหอมแรงในเวลากลางคืน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 กลีบ สีเขียวอ่อน กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ บานตั้งฉากกับหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก รังไข่ใต้วงกลีบ
ผล : มีเนื้อหลายเมล็ด สุกสีดำ
-
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
บุรีรัมย์
-
บึงกาฬ
-
ราชบุรี
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ลำปาง
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา