-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง ๒๕ - ๔๐ เมตร เปลือกเรียบสีเทา ตามยอดมีขนสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีหรือรูปไข่ ปลายเรียวแหลม โคนใบสอบมน ขอบใบเรียบ มักมีขนตามขอบใบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเป็นมัน ด้านล่างสีจางกว่า ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ปลายยอดและซอกใบ สีเขียวอ่อน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลรูปไข่
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ ก้านช่อดอก และก้านดอก ใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 6–12 ซม. แผ่นใบมีขนประปรายตามขอบใบและเส้นกลางใบ ก้านใบยาว 3–7 มม. ก้านช่อดอกยาว 3–5 มม. มี 4–6 ดอกในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 0.5–1 ซม. กลีบเลี้ยงมีขนประปราย รูปรี ยาว 3–4 มม. ขยายในผล กลีบดอกยาว 1–1.5 มม. มีขนยาวหนาแน่น รังไข่มีขนประปราย ผลรูปรีเกือบกลม ยาว 2.5–3.5 ซม. มีขนประปราย เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 1 ซม.
-
ไม้ต้น กฤษณาชนิด A. crassna Pierre ex Lecomte เป็นไม้ต้น ใบและดอกมีลักษณะเหมือนชนิด A. malaccensis Lam. แต่ก้านดอกยาวกว่า กลีบเลี้ยงขนาดใหญ่ และเป็นผลเมื่อขยายใหญ่ขึ้น ยาวได้ถึง 1.5 ซม. ผล ค่อนข้างกลมมีขนประปราย กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 2.5-3.5 ซม. ที่โคนผลมีกลีบเลี้ยงติดทน เมล็ด กว้างประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ 1 ซม.
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง ๒๕ - ๔๐ เมตร เปลือกเรียบสีเทา ตามยอดมีขนสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีหรือรูปไข่ ปลายเรียวแหลม โคนใบสอบมน ขอบใบเรียบ มักมีขนตามขอบใบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเป็นมัน ด้านล่างสีจางกว่า ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ปลายยอดและซอกใบ สีเขียวอ่อน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลรูปไข่
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง ๒๕ - ๔๐ เมตร เปลือกเรียบสีเทา ตามยอดมีขนสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีหรือรูปไข่ ปลายเรียวแหลม โคนใบสอบมน ขอบใบเรียบ มักมีขนตามขอบใบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเป็นมัน ด้านล่างสีจางกว่า ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ปลายยอดและซอกใบ สีเขียวอ่อน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลรูปไข่
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง ๒๕ - ๔๐ เมตร เปลือกเรียบสีเทา ตามยอดมีขนสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีหรือรูปไข่ ปลายเรียวแหลม โคนใบสอบมน ขอบใบเรียบ มักมีขนตามขอบใบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเป็นมัน ด้านล่างสีจางกว่า ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ปลายยอดและซอกใบ สีเขียวอ่อน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลรูปไข่
-
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ตามเชิงเขาและไหล่เขาในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง ๑๕๐ - ๘๐๐ เมตร
-
Indochina; N, C & SE Thailand: Nakhon Nayok (Khao Yai), Prachin Buri, Chanthaburi and Trat
-
A. crassna Pierre ex Lecomte มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทางภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นในป่าดิบแล้ง ในต่างประเทศพบที่ภูมิภาคอินโดจีน
-
พบในประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ตามเชิงเขาและไหล่เขาในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง ๑๕๐ - ๘๐๐ เมตร
-
พบในประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ตามเชิงเขาและไหล่เขาในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง ๑๕๐ - ๘๐๐ เมตร
-
พบในประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ตามเชิงเขาและไหล่เขาในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง ๑๕๐ - ๘๐๐ เมตร
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ต้นกฤษณา เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 18-30 เมตร วัดขนาดรอบลำต้นได้ความยาวประมาณ 1.5-1.8 เมตร ลักษณะของต้นเป็นทรงพุ่มเจดีย์ต่ำ ๆ หรือเป็นรูปกรวย ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบมีสีเทาอมขาว เปลือกมีความหนาประมาณ 5-10 มิลลิเมตร เมื่ออายุมาก ๆ เปลือกนอกจะแตกเป็นร่องยาวตื้น ๆ ส่วนเปลือกด้านในจะมีสีขาวอมเหลือง ต้นมีรูระบายอากาศสีน้ำตาลอ่อนอยู่ทั่วไป ตามกิ่งอ่อนจะมีขนสีขาวปกคลุมอยู่ มักมีพูพอนที่โคนต้นเมื่อมีอายุมาก ต้นกฤษณาชอบขึ้นในที่ชุ่มชื้น จึงมักพบได้ทั่วไปตามป่าดงดิบทั้งชื้นและแล้ง หรือที่ราบใกล้กับแม่น้ำลำธาร
-
ต้นกฤษณา เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 18-30 เมตร วัดขนาดรอบลำต้นได้ความยาวประมาณ 1.5-1.8 เมตร ลักษณะของต้นเป็นทรงพุ่มเจดีย์ต่ำ ๆ หรือเป็นรูปกรวย ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบมีสีเทาอมขาว เปลือกมีความหนาประมาณ 5-10 มิลลิเมตร เมื่ออายุมาก ๆ เปลือกนอกจะแตกเป็นร่องยาวตื้น ๆ ส่วนเปลือกด้านในจะมีสีขาวอมเหลือง ต้นมีรูระบายอากาศสีน้ำตาลอ่อนอยู่ทั่วไป ตามกิ่งอ่อนจะมีขนสีขาวปกคลุมอยู่ มักมีพูพอนที่โคนต้นเมื่อมีอายุมาก ต้นกฤษณาชอบขึ้นในที่ชุ่มชื้น จึงมักพบได้ทั่วไปตามป่าดงดิบทั้งชื้นและแล้ง หรือที่ราบใกล้กับแม่น้ำลำธาร
-
ต้นกฤษณา เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 18-30 เมตร วัดขนาดรอบลำต้นได้ความยาวประมาณ 1.5-1.8 เมตร ลักษณะของต้นเป็นทรงพุ่มเจดีย์ต่ำ ๆ หรือเป็นรูปกรวย ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบมีสีเทาอมขาว เปลือกมีความหนาประมาณ 5-10 มิลลิเมตร เมื่ออายุมาก ๆ เปลือกนอกจะแตกเป็นร่องยาวตื้น ๆ ส่วนเปลือกด้านในจะมีสีขาวอมเหลือง ต้นมีรูระบายอากาศสีน้ำตาลอ่อนอยู่ทั่วไป ตามกิ่งอ่อนจะมีขนสีขาวปกคลุมอยู่ มักมีพูพอนที่โคนต้นเมื่อมีอายุมาก ต้นกฤษณาชอบขึ้นในที่ชุ่มชื้น จึงมักพบได้ทั่วไปตามป่าดงดิบทั้งชื้นและแล้ง หรือที่ราบใกล้กับแม่น้ำลำธาร
-
ต้นกฤษณา เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 18-30 เมตร วัดขนาดรอบลำต้นได้ความยาวประมาณ 1.5-1.8 เมตร ลักษณะของต้นเป็นทรงพุ่มเจดีย์ต่ำ ๆ หรือเป็นรูปกรวย ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบมีสีเทาอมขาว เปลือกมีความหนาประมาณ 5-10 มิลลิเมตร เมื่ออายุมาก ๆ เปลือกนอกจะแตกเป็นร่องยาวตื้น ๆ ส่วนเปลือกด้านในจะมีสีขาวอมเหลือง ต้นมีรูระบายอากาศสีน้ำตาลอ่อนอยู่ทั่วไป ตามกิ่งอ่อนจะมีขนสีขาวปกคลุมอยู่ มักมีพูพอนที่โคนต้นเมื่อมีอายุมาก ต้นกฤษณาชอบขึ้นในที่ชุ่มชื้น จึงมักพบได้ทั่วไปตามป่าดงดิบทั้งชื้นและแล้ง หรือที่ราบใกล้กับแม่น้ำลำธาร
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Dry evergreen and tropical rain forests, 150 − 800 m.
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
การขยายพันธุ์ :
-
1. การขุดกล้าไม้จากบริเวณต้นแม่มาปลูกในเรือนเพาะชำ จนกล้าไม้มีอายุได้ 1 ปีจึงค่อยย้ายไปปลูกในแปลง
2. การตอนกิ่ง
3. การปักชำ
4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกฤษณาในสภาพปลอดเชื้อ
-
1. การขุดกล้าไม้จากบริเวณต้นแม่มาปลูกในเรือนเพาะชำ จนกล้าไม้มีอายุได้ 1 ปีจึงค่อยย้ายไปปลูกในแปลง
2. การตอนกิ่ง
3. การปักชำ
4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกฤษณาในสภาพปลอดเชื้อ
-
1. การขุดกล้าไม้จากบริเวณต้นแม่มาปลูกในเรือนเพาะชำ จนกล้าไม้มีอายุได้ 1 ปีจึงค่อยย้ายไปปลูกในแปลง
2. การตอนกิ่ง
3. การปักชำ
4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกฤษณาในสภาพปลอดเชื้อ
-
1. การขุดกล้าไม้จากบริเวณต้นแม่มาปลูกในเรือนเพาะชำ จนกล้าไม้มีอายุได้ 1 ปีจึงค่อยย้ายไปปลูกในแปลง
2. การตอนกิ่ง
3. การปักชำ
4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกฤษณาในสภาพปลอดเชื้อ
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว