Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Drynaria bonii
Drynaria bonii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Drynaria bonii
Christ
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Aglaomorpha bonii (Christ) Hovenkamp & S.Linds.
ชื่อสามัญ::
-
Kratae tai mai
ชื่อไทย::
-
กระแตไต่ไม้ใบเล็ก
-
กระแตใบเล็ก
-
กระแตไต่หิน
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระแตไต่หิน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Polypodiaceae
สกุล:
Aglaomorpha
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:23 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic or lithophytic fern.
-
ใบแบบภาวะทวิสัณฐาน ใบสร้างสปอร์มีขอบใบหยักลึกเกือบเป็นใบประกอบเกือบขนนกนก 1 ชั้น ชูยื่นขึ้นไป และมีขนาดใหญ่กว่าใบไม่สร้างสปอร์ และยังไม่สร้างซอรัส ใบไม่สร้างสปอร์รูปค่อนข้างกลมหรือมีความยาวมากกว่าความกว้างเล็กน้อย เรียงซ้อนทับกันแน่น เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5-7 เซนติเมตร
-
ใบไม่สร้างสปอร์ ค่อนข้างกลม ขนาดเล็ก ใบสร้างสปอร์เว้าเป็นแฉกลึกแบบขนนก ซอรัสระหว่างคู่เส้นใบข้าง กระจายมากกว่า 2 แถวและไม่เป็นระเบียบ
-
ใบสร้างสปอร์มีลักษณะต่างกับใบไม่สร้างสปอร์
-
ใบร่างแห มีใบ 2 ลักษณะแบบภาวะทวิสัณฐาน ใบไม่สร้างสปอร์ รูปร่างกลมขนาดเล็กเรียงซ้อนเกาะกันแน่น และใบสร้างสปอร์มีขนาดใหญ่กว่าและชูยื่นออกมา กลุ่มอับสปอร์เปลือยไม่มีอินดิวเซียม
-
ผักกูดที่อาศัยอยู่ตามพื้นดิน
ระบบนิเวศ :
-
On dry or muddy rocks and tree-trunks in light
shade or in deciduous forests, at low to medium altitudes, less than 1,000 m.
การกระจายพันธุ์ :
-
China (Guizhou) and Indochina.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,ChiangMai,ChiangRai,Lampang,Phrae,Tak,Phitsanulok,Loei,NongKhai,Chaiyaphum,NakhonRatchasima,Uthai
Thani,Kanchanaburi,PrachuapKhiriKhan,SingBuri,Saraburi,PrachinBuri,ChonBuri
-
พระนครศรีอยุธยา, นครปฐม, หนองคาย
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
สุราษฎร์ธานี
-
มุกดาหาร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นเกาะหิน
-
เฟิร์นอิงอาศัย/เฟิร์นเกาะหิน
-
เฟิร์นเกาะหิน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, ริมทางเดินเข้าสู่น้ำตกแม่กลาง
-
ป่าภูหลวง
-
หมู่เกาะอ่างทอง
-
ภูผาเทิบ, ร่องน้ำใกล้สวนมุจรินทร์และผาหินใกล้ลานมุจลินทร์
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ผักค้างคาว
Hedyotis ovatifolia
Digitaria longiflora
Bulbophyllum lindleyanum
หยาดอุทัย
Microchirita personata
Datura stramonium
Frullania wallichiana
Previous
Next