Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Muscicapa dauurica
Muscicapa dauurica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Muscicapa dauurica
Pallas, 1811
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Asian Brown Flycatcher
ชื่อไทย::
-
นกจับแมลงสีน้ำตาล
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกจับแมลงสีน้ำตาล
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Muscicapidae
สกุล:
Muscicapa
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (สถานตากอากาศบางปู)
ปรับปรุงล่าสุด :
6 ก.ค. 2566
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
26 ก.พ. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
26 ก.พ. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) ตัวเต็มวัยด้านบนลำตัวสีเทา จนถึงน้ำตาลเทา วงรอบเบ้าตาสีขาว ไม่มีลายพาดและลายขีดใดๆ
ที่ปีก ด้านล่างลำตัวสีออกขาว อกและสีข้างสีเทาแกมน้ำตาล ตรงกลางอกมักจะมีสีออกขาว ปากสีดำ ขากรรไกรล่างเป็นลักษณะคล้ายแท่งเนื้อ ตอนโคนเป็นสีเหลือง นิ้สีออกดำ
-
ปากยาวกว่านกจับแมลงสีคล้ำ โคนปากล่างเหลืองหรือสีเนื้อ ปลายดำ หัวตาและวงตาขาวใหญ่ หัวและลำตัวด้านบนสี
น้ำตาล-เทาแกมน้ำตาล ปีกมีแถบขาวเล็กๆ คอและลำตัวด้านล่างขาวแกมเทา อกมีลายขีดเล็กๆหรือเรียบไม่มีลาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ปากยาวกว่านกจับแมลงสีคล้ำ โคนปากล่างเหลืองหรือสีเนื้อปลายดำ หัวตาและวงตาขาวใหญ่ หัวและลำตัวด้านบนสีน้ำตาลถึงเทาแกมน้ำตาล ปีกมีแถบขาวแคบ ๆ แต่เห็นชัดโดยเฉพาะขอบโคนปีก คอและลำตัวด้านล่างขาวแกมเทา อกมีลายขีดเล็ก ๆ คล้ายกับนกจับแมลงสีน้ำตาลท้องลาย หรือเรียบไม่มีลาย
ระบบนิเวศ :
-
ป่าโปร่ง สวนผลไม้ และสวนสาธารณะ
-
พบในป่าโปร่ง ชายป่า ทุ่งโล่ง สวนผลไม้ และป่าขายเลน มักเกาะตามกิ่งล่างของต้นไม้หรือกิ่งแห้ง ตาคอยจ้องหาเหยื่อซึ่งได้แก่แมลงต่างๆ จากนั้นก็จะโฉบจับด้วยปากกลางอากาศ
-
ป่าดิบ ชายป่า ส่วนใหญ่พบหากินบนพื้น
-
สวนป่า/สวนสาธารณะ นกประจำถิ่น/นกอพยพในฤดูหนาว
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
สวนยาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
เลย
-
พังงา
-
นนทบุรี
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
น่าน
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน รังเป็นรูปถ้วย โดยสร้างจากมอสส์และกิ่งไม้เล็กๆ รองพื้นด้วยรากฝอย ขนนก และวัสดุเยื่อใยอื่นๆ วางรังตามกิ่งของต้นไม้ แต่ละรังมีไข่ 4 ฟอง ไข่สีเทาแกมเขียว มีลายขีดสีน้ำตาล ระยะเวลาฟักไข่
11 - 12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
-
พื้นที่เกษตรกรรม
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
-
นกอพยพ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Penaeus longistylus
Cassyma chrotadelpha
อึ่งกรายปากแคบ
Megophrys koui
ปลากะพงแม่น้ำไนล์
Lates niloticus
แตนเบียนเพลี้ยแป้งสับปะรด
Anagyrus tenuis
หอยหอมใหญ่สะดือขาว
Cyclophorus speciosus
Previous
Next