Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mitrephora keithii
Mitrephora keithii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Mitrephora keithii
Ridl.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Mitrephora lophophora C.E.C.Fisch.
ชื่อไทย::
-
กลาย
-
กลาย, กล้วยค่าง
-
มหาพรหม
ชื่อท้องถิ่น::
-
กล้วยค่าง มหาพรหม ลำดวนเหลือง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Mitrephora
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มสูงได้ถึง 3 เมตร กิ่งก้านสีน้ำตาลมีแผลระบาย อากาศมาก ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือแกมรี กว้าง 4 ซม. ยาว 7-12 ซม. ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม โคนใบสอบมน ดอก เดี่ยว ออกตามกิ่งใกล้ปลายยอด กลีบรองดอกมีขนาดเล็ก 3 กลีบ รูปไข่ กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ชั้นนอกสีเหลือง รูปรีกว้าง ขนาด 2 x 1.5 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม ชั้นในเชื่อมกัน เป็นรูปโดมสีเหลืองอ่อน มีลายสีแดงอมส้มตามยาว ภายในมีเกสรผู้ จำนวนมาก ผล กลุ่ม มีผลย่อย 4-7 ผล รูปทรงกระบอกคอด เล็กน้อยตามผล ผิวเกลี้ยง ปลายเป็นตุ่ม
-
สูงประมาณ 3 - 4 ม. เติบโตค่อนข้างช้า เหมาะสำหรับที่จะปลูกในพื้นที่แคบๆ ประมาณ 1 ตรม. ได้
-
ไม้พุ่มสูงได้ถึง 3 เมตร กิ่งก้านสีน้ำตาลมีแผลระบาย อากาศมาก ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือแกมรี กว้าง 4 ซม. ยาว 7-12 ซม. ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม โคนใบสอบมน ดอก เดี่ยว ออกตามกิ่งใกล้ปลายยอด กลีบรองดอกมีขนาดเล็ก 3 กลีบ รูปไข่ กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ชั้นนอกสีเหลือง รูปรีกว้าง ขนาด 2 x 1.5 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม ชั้นในเชื่อมกัน เป็นรูปโดมสีเหลืองอ่อน มีลายสีแดงอมส้มตามยาว ภายในมีเกสรผู้ จำนวนมาก ผล กลุ่ม มีผลย่อย 4-7 ผล รูปทรงกระบอกคอด เล็กน้อยตามผล ผิวเกลี้ยง ปลายเป็นตุ่ม
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดียและเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
อินเดียและเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
Burma, Malay Pen, SW Thailand: Phetchaburi, Prachuap Khiri Khan
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มโปร่งขนาดเล็ก
-
ไม้พุ่ม/ไม้ต้น
ถิ่นกำเนิด :
-
ภาคใต้ของไทย (คาบสมุทรอินโดจีน)
การขยายพันธุ์ :
-
การตอน เพาะเมล็ด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Dry evergreen forest, 100 − 300 m.
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุทัยธานี
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
สุราษฎร์ธานี
-
บุรีรัมย์
-
ราชบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Glycosmis tricanthera
Dendrobium ochreatum
ตะเคียนหิน
Hopea ferrea
Pothos kingii
Chiloschista exuperei
Ceratodictyon intricatum
Previous
Next