Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Torenia pierreana
Torenia pierreana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Torenia pierreana
Bonati
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Torenia reptans Kerr
- Torenia reptans Kerr ex Barnett
ชื่อไทย:
-
แววสุพัตรา
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Linderniaceae
สกุล:
Torenia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุกทอดเลื้อยได้ สูง 50 ซม. มีรากแตกตามข้อ ใกล้โคนต้น ใบ ออกตรงกันข้าม รูปใบหอกถึงรูปขอบขนานแกมไข่ กว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 2-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนขอบใบจัก ผิวใบมีขนมากทั้ง 2 ด้าน ดอก สีแดงอ่อนหรือชมพูอมแดง ออกเดี่ยวบริเวณปลายยอดหรือเป็นช่อสั้นน้อยดอก กลีบรองดอกเชื่อมเป็นถ้วย กลีบดอกโคนเป็นหลอดปลายแยกเป็น 5 กลีบ กว้างและยาว 2.5-3 ซม. กลีบบน 2 กลีบ กลมกว้าง กลีบข้าง 2 กลีบ กลมมน กลีบล่างแผ่กลมใหญ่กว่ากลีบอื่น ส่วนปลายแยก เป็นแฉก ขนาด 8-10 มม. เกสรผู้ 4 อัน บริเวณก้านเกสรคู่ล่างมีเดือย เป็นเส้น ยาว 1-2 มม. ผล แก่แล้วแตก รูปขอบขนาน ขนาดกว้าง 2.5-3 มม. ยาว 10-12 มม. เมล็ด รูปกระสวย ขนาดกว้าง 0.3 มม. ยาว 0.45 มม.
-
ไม้ล้มลุกทอดเลื้อยได้ สูง 50 ซม. มีรากแตกตามข้อ ใกล้โคนต้น ใบ ออกตรงกันข้าม รูปใบหอกถึงรูปขอบขนานแกมไข่ กว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 2-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนขอบใบจัก ผิวใบมีขนมากทั้ง 2 ด้าน ดอก สีแดงอ่อนหรือชมพูอมแดง ออกเดี่ยวบริเวณปลายยอดหรือเป็นช่อสั้นน้อยดอก กลีบรองดอกเชื่อมเป็นถ้วย กลีบดอกโคนเป็นหลอดปลายแยกเป็น 5 กลีบ กว้างและยาว 2.5-3 ซม. กลีบบน 2 กลีบ กลมกว้าง กลีบข้าง 2 กลีบ กลมมน กลีบล่างแผ่กลมใหญ่กว่ากลีบอื่น ส่วนปลายแยก เป็นแฉก ขนาด 8-10 มม. เกสรผู้ 4 อัน บริเวณก้านเกสรคู่ล่างมีเดือย เป็นเส้น ยาว 1-2 มม. ผล แก่แล้วแตก รูปขอบขนาน ขนาดกว้าง 2.5-3 มม. ยาว 10-12 มม. เมล็ด รูปกระสวย ขนาดกว้าง 0.3 มม. ยาว 0.45 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในคาบสมุทรอินโดจีน ประเทศไทยพบทุกภาค ตามพื้นที่เปิดบริเวณชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 600-1,400 เมตร
-
พบในคาบสมุทรอินโดจีน ประเทศไทยพบทุกภาค ตามพื้นที่เปิดบริเวณชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 600-1,400 เมตร
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Thrixspermum pensile
Cephaloziella microphylla
Amorphophallus corrugatus
Peliosanthes violacea
Actinoscirpus grossus
Arundinella decempedalis
Previous
Next