Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mimosa diplotricha
Mimosa diplotricha
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Mimosa diplotricha
C.Wright ex Sauvalle
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Giant Sensitive Plant
ชื่อไทย::
-
ไมยราบเลื้อย
ชื่อท้องถิ่น::
-
ไมยรายขาว ไมยราบเถา เขี้ยวงู
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Mimosa
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
ศิริพร ซึงสนธิพร
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ธ.ค. 2561
วันที่อัพเดท :
25 มิ.ย. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
25 มิ.ย. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มทอดเลื้อยหนาแน่น สูงได้ถึง 1 ม. ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม สันเหลี่ยมมีหนามโค้งเป็นแถว มีขนหยาบและหนามโค้งประปรายตามแกนก้านใบ แผ่นใบ และช่อดอก แกนกลางใบประกอบยาว 6–11 ซม. ก้านยาว 3–5 ซม. ใบประกอบย่อยมี 4–7 คู่ ยาว 1–4.5 ซม. ใบย่อยมี 12–21 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 2–7 มม. ก้านช่อดอกยาว 0.5–6 ซม. ดอกรูปกรวยแคบ ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอกยาวประมาณ 1 มม. ปลายมน เกสรเพศผู้ 8 อัน รังไข่มีขนละเอียด ฝักรูปขอบขนาน ยาว 1.5–3.5 ซม. ขอบมีขนแข็ง
-
ไม้ล้มลุกกึ่งทอดเลื้อย อายุหลายปี ลำต้นสี่เหลี่ยม มีหนาม แหลมเป็นแง่งและขนสากปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้น ยาวได้ถึง 22 ซม. ใบย่อยชั้นแรก 6-9 คู่ มีหนามแหลม ตลอดแผงก้านใบ ใบย่อยชั้นรอง 15-30 คู่ รูปขอบขนาน ดอก สีม่วงแดงแกมชมพู ออกเป็นช่อกลมที่ซอกใบ ขนาด 12-15 มม. มีดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก กลีบรองดอกรูประฆัง กลีบดอก เชื่อมกันที่ฐาน ปลายแยก 4 กลีบ รูปไข่ ปลายมน เกสรผู้ 8 อัน ก้านชูเกสร ยาว 6-7 มม. รังไข่รูปรีแบน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โค้งเล็กน้อย กว้าง 5 มม. ยาว 25-35 มม. ติดกันแน่น เป็นกระจุก ผิวมีหนาม ผลแก่สีน้ำตาลอ่อน มี 3-6 เมล็ด
-
ไม้เถา ยาวได้ถึง ๕ เมตร มีลักษณะคล้ายต้นไมยราบ แต่มีลำต้นเป็นเหลี่ยม สีเขียวอ่อน มีขนหนาแน่น และมีหนามแหลมคมจำนวนมากแต่เปราะหักง่าย ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ช่อใบย่อย ๓-๖ คู่ ช่อดอกเป็นช่อกลม สีชมพู ออกที่ปลายกิ่งมีช่อดอกย่อยจำนวนมาก ฝักยาว ๒-๓ เซนติเมตร ชอบขึ้นตามที่โล่งและชายป่า ขึ้นได้ดีทั้งในพื้นที่ป่าผลัดใบและชายป่าดงดิบ เป็นกลุ่มหนาแน่นทำให้เกิดไฟป่ารุนแรง แต่มีเหง้าสามารถทนไฟได้ดี พบได้ทั่ว ประเทศ ที่ความสูงไม่เกิน ๑,๓๐๐ เมตร
-
ไม้ล้มลุกกึ่งทอดเลื้อย อายุหลายปี ลำต้นสี่เหลี่ยม มีหนาม แหลมเป็นแง่งและขนสากปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้น ยาวได้ถึง 22 ซม. ใบย่อยชั้นแรก 6-9 คู่ มีหนามแหลม ตลอดแผงก้านใบ ใบย่อยชั้นรอง 15-30 คู่ รูปขอบขนาน ดอก สีม่วงแดงแกมชมพู ออกเป็นช่อกลมที่ซอกใบ ขนาด 12-15 มม. มีดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก กลีบรองดอกรูประฆัง กลีบดอก เชื่อมกันที่ฐาน ปลายแยก 4 กลีบ รูปไข่ ปลายมน เกสรผู้ 8 อัน ก้านชูเกสร ยาว 6-7 มม. รังไข่รูปรีแบน ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โค้งเล็กน้อย กว้าง 5 มม. ยาว 25-35 มม. ติดกันแน่น เป็นกระจุก ผิวมีหนาม ผลแก่สีน้ำตาลอ่อน มี 3-6 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ เป็นวัชพืชร้ายแรง พบทั่วไปตามที่รกร้างหรือที่เปิดโล่ง ที่ระดับ ความสูงได้ถึง 1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม
-
มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ เป็นวัชพืชร้ายแรง พบทั่วไปตามที่รกร้างหรือที่เปิดโล่ง ที่ระดับ ความสูงได้ถึง 1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม
ถิ่นกำเนิด :
-
ทวีปอเมริกาใต้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1021556
1021556
2
PRJEB56933
918222
3
PRJNA870456
870456
4
PRJNA870436
870436
5
PRJNA845693
845693
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง มาตรการป้องกัน ควบคุม และกำจัด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กะลิง
Diospyros pilosanthera
เม้าป่า
Vaccinium dialypetalum
ถั่วไมยรา
Desmanthus virgatus
Erycibe sinii
Callicarpa glandulosa
เปล้าเงิน
Croton argyratus
Previous
Next