Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Millettia kangensis
Millettia kangensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Millettia kangensis
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ขะเจ๊าน้ำ
-
ขะเจ๊าะน้ำ
-
ขะเจาะน้ำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระเจาะ ขะเจาะ ขะเจาะน้ำ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Millettia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:30 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:30 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 8-10 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ ใบย่อยเรียงตรงข้าม รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 4-6 ซม. ยาว 8-15 ซม. ดอก รูปถั่วสีชมพุ ขนาด 2-2.5 ซม. ออกเป็นช่อตั้ง ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 5-8 มม. กลีบกลาง ขนาด 1.5 ซม. กลีบคู่ข้าง รูปขอบขนาน กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. กลีบคู่ล่างยาว 1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน รังไข่รูปขอบขนาน ฝัก แบน รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 5-7 ซม.
-
ไม้ต้น สูง 8-10 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ ใบย่อยเรียงตรงข้าม รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 4-6 ซม. ยาว 8-15 ซม. ดอก รูปถั่วสีชมพุ ขนาด 2-2.5 ซม. ออกเป็นช่อตั้ง ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 5-8 มม. กลีบกลาง ขนาด 1.5 ซม. กลีบคู่ข้าง รูปขอบขนาน กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. กลีบคู่ล่างยาว 1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน รังไข่รูปขอบขนาน ฝัก แบน รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 5-7 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบเฉพาะภาคเหนือ ขึ้นตามป่าริมน้ำที่ระดับความสูง 400-600 เมตร ออกดอกเดือน ม.คง-มี.ค. ติดผลเดือน มี.ค.-พ.ค.
-
N Thailand: Chiang Mai, Lampang
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบเฉพาะภาคเหนือ ขึ้นตามป่าริมน้ำที่ระดับความสูง 400-600 เมตร ออกดอกเดือน ม.คง-มี.ค. ติดผลเดือน มี.ค.-พ.ค.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
ราชบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
สุพรรณบุรี
-
กาญจนบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
บึงกาฬ
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous forest, along streams, to 700 m.
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dacryodes laxa
Rhododendron loranthifolia
Symphyodon erinaceus
Syrrhopodon treubii
Dioscorea prazeri
Gelidiella acerosa
Previous
Next