Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Miliusa thorelii
Miliusa thorelii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Miliusa thorelii
Finet & Gagnep.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
หมาดำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
-
หมาดำ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Miliusa
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร กิ่งขนานกับพื้น ใบเดี่ยว รูปรี แกมรูปขอบขนาน กว้าง 10-12 ซม. ยาว 18-25 ซม. ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ปลายใบแหลม ก้านใบยาว 6-10 มม. ดอกออกเป็นช่อกระจุก 4-9 ดอก สีเขียวอมเหลือง มีจุดสีม่วงแดงที่โคนกลีบ ก้านดอกยาว 5-6 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกชั้นนอกมีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงกัน ยาวประมาณ 2 มม. โคนกลีบดอกชั้นในเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 3 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลม กว้าง 0.7-1 ซม. ยาว 1.2-1.5 ซม. ดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ผลแบบผลกลุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5 ซม. มี 10-15 ผล ผลย่อยกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ปลายผลมีติ่งทู่ ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่สีดำ
-
บรรยายลักษณะต้น:ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ใบ:ใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 10-12 เซนติเมตร ยาว 18-25 เซนติเมตร ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ปลายใบแหลม ก้านใบยาว 6-10 มิลลิเมตร ดอก:ดอกออกเป็นช่อกระจุก 4-9 ดอก ดอกสีเขียวอมเหลือง มีจุดสีม่วงแดงที่โคนกลีบ ก้านดอกยาว 5-6 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกชั้นนอกมีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงกัน ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร โคนกลีบดอกชั้นในเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 3 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลม กว้าง 0.7-1 เซนติเมตร ยาว 1.2-1.5 เซนติเมตร ดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร ผล:ผลแบบผลกลุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5 เซนติเมตร มี 10-15 ผล ผลย่อยกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร ปลายผลมีติ่งทู่ ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่สีดำเปลือก:อื่นๆ:
ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร
ใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 10-12 เซนติเมตร ยาว 18-25 เซนติเมตร ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ปลายใบแหลม ก้านใบยาว 6-10 มิลลิเมตร
ดอกออกเป็นช่อกระจุก 4-9 ดอก ดอกสีเขียวอมเหลือง มีจุดสีม่วงแดงที่โคนกลีบ ก้านดอกยาว 5-6 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกชั้นนอกมีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงกัน ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร โคนกลีบดอกชั้นในเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 3 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลม กว้าง 0.7-1 เซนติเมตร ยาว 1.2-1.5 เซนติเมตร ดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร
ผลแบบผลกลุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5 เซนติเมตร มี 10-15 ผล ผลย่อยกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร ปลายผลมีติ่งทู่ ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่สีดำ
-
ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร กิ่งขนานกับพื้น ใบเดี่ยว รูปรี แกมรูปขอบขนาน กว้าง 10-12 ซม. ยาว 18-25 ซม. ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ปลายใบแหลม ก้านใบยาว 6-10 มม. ดอกออกเป็นช่อกระจุก 4-9 ดอก สีเขียวอมเหลือง มีจุดสีม่วงแดงที่โคนกลีบ ก้านดอกยาว 5-6 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกชั้นนอกมีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงกัน ยาวประมาณ 2 มม. โคนกลีบดอกชั้นในเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 3 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลม กว้าง 0.7-1 ซม. ยาว 1.2-1.5 ซม. ดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ผลแบบผลกลุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5 ซม. มี 10-15 ผล ผลย่อยกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ปลายผลมีติ่งทู่ ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่สีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณเชิงเขาหินปูน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 600-800 เมตร ออกดอกเดือนมีนาคม ติดผลเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
พบบริเวณเชิงเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 600-800 เมตร
-
พบบริเวณเชิงเขาหินปูน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 600-800 เมตร ออกดอกเดือนมีนาคม ติดผลเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พิษณุโลก
-
แม่ฮ่องสอน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cleistocalyx khaoyaiensis
พวงโกเมน
Mucuna warburgii
Polyalthia dubia
Urceola lucida
พริกหมอคาร์
Orophea kerrii
Ficus carica
Previous
Next