Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Gardenia carinata
Gardenia carinata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Gardenia carinata
Wall. ex Roxb.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
รักนา
-
พุดน้ำบุศย์
ชื่อท้องถิ่น::
-
ตะบือโก รักนา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Rubiaceae
สกุล:
Gardenia
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:22 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลำต้น : ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร แตกกิ่งจำนวนมาก ทรงพุ่มแน่นทึบ กิ่งแตกตรงข้อ 2-3 กิ่ง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามเป็นคู่ รูปหอก ปลายเรียวแหลม โคนเบี้ยว ขอบเรียบ แผ่นใบบาง เส้นกลางใบและเส้นใบสีขาวเด่นชัด ผิวด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวด้านล่างสีเขียวอ่อน
ดอก : ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยงสีเขียว โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่ ปลายมัน ขอบกลีบเป็นคลื่นเล็กน้อย
-
ลำต้น : ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร แตกกิ่งจำนวนมาก ทรงพุ่มแน่นทึบ กิ่งแตกตรงข้อ 2-3 กิ่ง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามเป็นคู่ รูปหอก ปลายเรียวแหลม โคนเบี้ยว ขอบเรียบ แผ่นใบบาง เส้นกลางใบและเส้นใบสีขาวเด่นชัด ผิวด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวด้านล่างสีเขียวอ่อน
ดอก : ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยงสีเขียว โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่ ปลายมัน ขอบกลีบเป็นคลื่นเล็กน้อย
-
ลำต้น : ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร แตกกิ่งจำนวนมาก ทรงพุ่มแน่นทึบ กิ่งแตกตรงข้อ 2-3 กิ่ง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามเป็นคู่ รูปหอก ปลายเรียวแหลม โคนเบี้ยว ขอบเรียบ แผ่นใบบาง เส้นกลางใบและเส้นใบสีขาวเด่นชัด ผิวด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวด้านล่างสีเขียวอ่อน
ดอก : ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยงสีเขียว โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่ ปลายมัน ขอบกลีบเป็นคลื่นเล็กน้อย
การขยายพันธุ์ :
-
ปักชำกิ่ง ตอนกิ่ง
-
ปักชำกิ่ง ตอนกิ่ง
-
ปักชำกิ่ง ตอนกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lithocarpus dealbatus
กระบก
Irvingia malayana
Lygodium japonicum
Cyperus stenophyllus
พรมมิ
Bacopa monnieri
Adenostemma madurense
Previous
Next