Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Miliusa cuneata
Miliusa cuneata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Miliusa cuneata
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
ระฆังเขียว
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Miliusa
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-12 ซม. ขอบใบเรียบ เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบด้านบนเป็นร่อง ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ 1-2 ดอก ก้านดอกเรียว ยาว 1-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง รูปไข่ สีเขียว ปลายแหลม 3 กลีบ กลีบดอก มี 2 ชั้น ขนาดต่างกันมาก กลีบดอกชั้นนอก มีขนาดใกล้เคียงกับกลีบเลี้ยง กลีบดอกชั้นใน เชื่อมติดกันปลายแยกเป็น 3 กลีบ รูประฆังคว่ำ สีเหลืองอมส้ม ผลแบบผลกลุ่ม แต่ละผลกลม ผิวเกลี้ยง ด้านปลายของผลแหลม เมื่อแก่สีดำ
-
ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-12 ซม. ขอบใบเรียบ เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบด้านบนเป็นร่อง ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ 1-2 ดอก ก้านดอกเรียว ยาว 1-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง รูปไข่ สีเขียว ปลายแหลม 3 กลีบ กลีบดอก มี 2 ชั้น ขนาดต่างกันมาก กลีบดอกชั้นนอก มีขนาดใกล้เคียงกับกลีบเลี้ยง กลีบดอกชั้นใน เชื่อมติดกันปลายแยกเป็น 3 กลีบ รูประฆังคว่ำ สีเหลืองอมส้ม ผลแบบผลกลุ่ม แต่ละผลกลม ผิวเกลี้ยง ด้านปลายของผลแหลม เมื่อแก่สีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นกระจายในบริเวณป่าดิบแล้งริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 500-600 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ติดผลเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน
-
พบขึ้นกระจายในบริเวณป่าดิบแล้งริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 500-600 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ติดผลเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Digitaria setifolia
กุหลาบพระนามสิรินธร
Rosa ‘Princess
Maha Chakri Sirindhorn’
Goniophlebium molle
Echinochloa crusgalli
Piptospatha perakensis
Gnetum macrostachyum
Previous
Next