Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Gardenia erythroclada
Gardenia erythroclada
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Gardenia erythroclada
Kurz
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
มะคังแดง
-
มะดังแดง
-
มะคัง
ชื่อท้องถิ่น::
-
จงก่าขาว จิ้งก่าขาว ชันยอด มะคัง ตุมกาแดง มะคังป่า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Rubiaceae
สกุล:
Dioecrescis
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สุง 6-12 เมตร โคนมีหนาม กิ่งก้อานมีสีน้ำตาลแดง จนมีสีเข้มชัดเจนที่ปลายกิ่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเป็นผลสด รูปกระสวยมีสันนูนเล็กๆ ตามยาว ส่วนปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สุง 6-12 เมตร โคนมีหนาม กิ่งก้อานมีสีน้ำตาลแดง จนมีสีเข้มชัดเจนที่ปลายกิ่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเป็นผลสด รูปกระสวยมีสันนูนเล็กๆ ตามยาว ส่วนปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สุง 6-12 เมตร โคนมีหนาม กิ่งก้อานมีสีน้ำตาลแดง จนมีสีเข้มชัดเจนที่ปลายกิ่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเป็นผลสด รูปกระสวยมีสันนูนเล็กๆ ตามยาว ส่วนปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สุง 6-12 เมตร โคนมีหนาม กิ่งก้อานมีสีน้ำตาลแดง จนมีสีเข้มชัดเจนที่ปลายกิ่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเป็นผลสด รูปกระสวยมีสันนูนเล็กๆ ตามยาว ส่วนปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่อินเดีย พม่า ไทย อินโดจีน ตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และชายป่าดิบชื้น ออกดอกติดผลระหว่างเดือนเมษายน-กรกฎาคม
-
พบตั้งแต่อินเดีย พม่า ไทย อินโดจีน ตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และชายป่าดิบชื้น ออกดอกติดผลระหว่างเดือนเมษายน-กรกฎาคม
-
พบตั้งแต่อินเดีย พม่า ไทย อินโดจีน ตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และชายป่าดิบชื้น ออกดอกติดผลระหว่างเดือนเมษายน-กรกฎาคม
-
พบตั้งแต่อินเดีย พม่า ไทย อินโดจีน ตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และชายป่าดิบชื้น ออกดอกติดผลระหว่างเดือนเมษายน-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
แพร่
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Xiphopteris hieronymusii
ลูกคล้าย
Ficus ischnopoda
Johannesteijsmannia altifrons
Frullania claviloba
กระเช้าภูเก็ต
Aristolochia curtisii
Eragrostis pilosa
Previous
Next