Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mangifera pentandra
Mangifera pentandra
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Mangifera pentandra
Hook.fil.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Mangifera lanceolata Ridl.
ชื่อไทย::
-
มะม่วงป่า
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Anacardiaceae
สกุล:
Mangifera
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:43 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:43 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ บางลาง
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เป็นทรงพุ่ม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะทรงรี ใบใหญ่ยาวรีแหลม ผิวใบเรียบเป็นมัน ใบอ่อนมีสีแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม ดอกเป็นช่อ มีลักษณะทรงกลม กลีบดอกมีสีเหลืองนวล มีขนาดเล็ก มีกลิ่นหอม มีก้านดอกยาว ดอกจะออกตามปลายกิ่ง ผลเป็นผลเดี่ยว อยู่เป็นพวง มีลักษณะรูปทรงกลม ลูกมีขนาดเล็ก ผิวเปลือกบาง ผลอ่อนมีสีเขียว มียางสีขาว มีรสชาติเปรี้ยวจัด ผลสุกมีสีเหลือง เนื้อสุกมีสีเหลือง มีเนื้อนุ่มฉ่ำน้ำ มีรสชาติเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอม เมล็ดจะอยู่ข้างในเนื้อ มีผิวเปลือกหุ้มเมล็ดแข็งขรุขระ มีเมล็ดอยู่ข้างใน มีลักษณะทรงกลมแบน มีสีขาวนวล เป็นที่พบปลูกกันมากในภาคใต้ของไทย
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เป็นทรงพุ่ม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะทรงรี ใบใหญ่ยาวรีแหลม ผิวใบเรียบเป็นมัน ใบอ่อนมีสีแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม ดอกเป็นช่อ มีลักษณะทรงกลม กลีบดอกมีสีเหลืองนวล มีขนาดเล็ก มีกลิ่นหอม มีก้านดอกยาว ดอกจะออกตามปลายกิ่ง ผลเป็นผลเดี่ยว อยู่เป็นพวง มีลักษณะรูปทรงกลม ลูกมีขนาดเล็ก ผิวเปลือกบาง ผลอ่อนมีสีเขียว มียางสีขาว มีรสชาติเปรี้ยวจัด ผลสุกมีสีเหลือง เนื้อสุกมีสีเหลือง มีเนื้อนุ่มฉ่ำน้ำ มีรสชาติเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอม เมล็ดจะอยู่ข้างในเนื้อ มีผิวเปลือกหุ้มเมล็ดแข็งขรุขระ มีเมล็ดอยู่ข้างใน มีลักษณะทรงกลมแบน มีสีขาวนวล เป็นที่พบปลูกกันมากในภาคใต้ของไทย
การขยายพันธุ์ :
-
1. การตอนกิ่ง
2. การติดตา
3. การเพาะเมล็ด
4. การทาบกิ่ง
-
1. การตอนกิ่ง
2. การติดตา
3. การเพาะเมล็ด
4. การทาบกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สตูล
-
สตูล
-
ปัตตานี
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
ยะลา
-
ตรัง, สตูล
-
นครศรีธรรมราช
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
ตาก
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อไม้: ใช้ทำฟืน ทำโครงสร้างส่วนต่างๆ ของบ้าน เช่น ฝาบ้าน เปลือก: เปลือกด้านในใช้เป็นสีย้อมผ้า ใบ: ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสดได้ ผล: ผลดิบและผลสุก สามารถนำมารับประทานได้
-
เนื้อไม้: ใช้ทำฟืน ทำโครงสร้างส่วนต่างๆ ของบ้าน เช่น ฝาบ้าน เปลือก: เปลือกด้านในใช้เป็นสีย้อมผ้า ใบ: ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสดได้ ผล: ผลดิบและผลสุก สามารถนำมารับประทานได้
ที่มาของข้อมูล
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
งำเงาะ
Winitia cauliflora
Indigofera trita
Sesamum orientale
Blumea paniculata
Hedyotis chereevensis
Piper ramipilum
Previous
Next