Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Anas poecilorhyncha
Anas poecilorhyncha
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Anas poecilorhyncha
J.R.Forster, 1781
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Anas poecilorhynca J.R.Forster, 1781
ชื่อสามัญ::
-
Indian Spot-billed Duck
-
Spot-billed Duck
ชื่อไทย::
-
เป็ดเทาพันธุ์อินเดีย
-
เป็ดเทา
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Anseriformes
วงศ์::
Anatidae
สกุล:
Anas
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
17 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:47 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:47 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดกลางถึงใหญ่ (61 ซม.) ปากสีดำ ตอนเกือบปลายมีแถบสีเหลือง ขาและนิ้วสีแดง ด้านบนลำตัวสีน้ำตาลเข้มเป็นลายพร้อย ด้านล่างลำตัวสีน้ำตาลอ่อนเป็นลายพร้อย กระหม่อมสีดำ และมีแถบคาดตาสีดำ
-
ปากดำปลายปากสีเหลือง แข้งและตีนสีแดง ตัวผู้มีจุดกลมเล็กๆสีแดงที่หัวตา หัวและคอสีเทาแกมน้ำตาลค่อนข้างขาว กระหม่อมดำ แถบคาดตาดำ ลำตัวเป็นลายเกล็ดเล็กๆ สีน้ำตาล ลายค่อยๆใหญขึ้นทางด้านท้าย ขนคลุมโคนทางด้านล่างสีน้ำตาลเข้ม ขนกลางปีกสีเขียวเห็นชัดขณะบิน ปีกมีแถบสีขาวชัดเจนจากขนโคนปีก ตัวเมีย ไม่มีจุดแดงที่หัวตา สีน้ำตาลมากกว่าตัวผู้ บางตัวอาจมีแถบดำลากจากมุมปากคล้ายเป็ดเทาพันธุ์จีน
ระบบนิเวศ :
-
พบตามแหล่งน้ำต่างๆ เช่น บึง บาง หนอง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ กินพืชและสัตว์น้ำต่างๆ เป็นอาหารด้วยการว่ายน้ำหาอาหารในตอนกลางคืน ส่วนตอนกลางวันจะลอยน้ำพักผ่อน บางครั้งก็พบยืนอยู่ตามชายน้ำ หรือในป่าหญ้า
-
ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงราย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
เชียงราย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA967162
967162
2
PRJNA919735
919735
3
PRJNA718702
718702
4
PRJNA599025
599025
5
PRJNA221170
221170
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมป่าไม้
คู่มือจำแนกชนิดพันธุ์นกน้ำ ในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำอิงตอนล่าง, 2566, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cardisoma carnifex
Cryptothora thamicola
ผีเสื้อจิ๋วป่าพุ่ม
Ampittia maroides
Vexillum exasperatum
มดหนามไต้หวัน
Polyrhachis latona
Conus puncturatus
Previous
Next