Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Leiolepis belliana
Leiolepis belliana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Leiolepis belliana
(Hardwicke & Gray, 1827)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Leiolepis bellii Gray, 1845
- Uromastyx belliana Hardwicke & Gray, 1827
ชื่อสามัญ::
-
Butterfly Lizard
-
Southern Butterfly Lizard
-
Northern Butterfly Lizard
ชื่อไทย::
-
แย้ใต้
-
แย้
-
แย้จุด
-
แย้เหนือ
-
แย้เส้น , แย้จุด , แย้
ชื่อท้องถิ่น::
-
แย้ใต้
-
แง่
-
แญเว๊าะปาเซ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Reptilia
อันดับ:
Squamata
วงศ์::
Agamidae
สกุล:
Leiolepis
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:14 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:14 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
พบอาศัยในป่าหลายประเภท รวมทั้งป่าชายหาด
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
Inhabits coastal areas, Melaleuca forest, deciduous forest and dry evergreen forest.
-
Inhabits deciduous forest.
-
ทุ่งหญ้า
การกระจายพันธุ์ :
-
แหล่งอาศัยในประเทศไทยมีรายงานจากจังหวัดชลบุรี ราชบุรี เพชรบุรี กระบี่ ตรัง และนราธิวาส ส่วนชนิดพันธุ์ย่อย L. b. ocellata พบในจังหวัดเชียงใหม่ พะเยา ตาก กำแพงเพชร และอุทัยธานี
-
แหล่งอาศัยในประเทศไทยมีรายงานจากจังหวัดชลบุรี ราชบุรี เพชรบุรี กระบี่ ตรัง และนราธิวาส ส่วนชนิดพันธุ์ย่อย L. b. ocellata พบในจังหวัดเชียงใหม่ พะเยา ตาก กำแพงเพชร และอุทัยธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลำตัววัดจากปลายปากโดยตลอดยาวประมาณ 11.5 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 23.8 เซนติเมตร ตัวแบนหางราบ โคนหางแบนและแผ่บานออก สีข้างแผ่ขยาย ไม่มีแผงหนามที่สันหลัง ช่องหูใหญ่ เยื่อหูจมใต้ผิวหนัง หนังข้างคอมีรอยพับตามขวาง รอบลำตัวมีเกล็ดประมาณ 40 แถว หัวและหลังสีมะกอก โดยมีจุดเหลืองขอบดำเรียงเป็นแนวข้างตัว มีแถบดำสลับเหลืองคอมีลวดลายร่างแหดำ ประกอบสีครีม ท้องและอกสีส้มสด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
น่าน
-
ชลบุรี,อุทัยธานี,กาญจนบุรี,ราชบุรี,เพชรบุรี,ตรัง,ปัตตานี,นราธิวาส
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
กำแพงเพชร
-
พิษณุโลก
-
กระบี่
-
ยะลา,ปัตตานี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
Chon Buri (Bang Pra); Uthai Thani (Haui Khakhaeng); Kanchanaburi (Sai Yok); Ratchaburi (Maenam Pachi);
Phetchaburi (Cha-Um); Trang (Kantang, Koh Libong); Pattani
(Napradoo); Narathiwat (Takbai).
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ถิ่นกำเนิด :
-
เชียงใหม่,พะเยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
-
เป็นอาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
PSUZC-REP-0173
PSUZC
Chumphon
Alcohol
PSUZC-REP-0342
PSUZC
Chumphon
Alcohol
PSUZC-REP-0516
PSUZC
Narathiwat
Alcohol
PSUZC-REP-0529
PSUZC
Satun
Alcohol
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 9 Amphibians and Raptiles in Thailand, 2543
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ทากเปลือยปุ่มวาริโคซ่า
Phyllidia varicosa
Ctena divergens
Cheilopogon atrisignis
Fungia paumotensis
Scolopsis dubiosus
Diapus quinquespiratus
Previous
Next