Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Lanius schach
Lanius schach
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Lanius schach
Linnaeus, 1758
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Long-tailed Shrike
ชื่อไทย::
-
นกอีเสือหัวดำ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Laniidae
สกุล:
Lanius
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:58 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:58 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็ก (25 ซม.) หางยาว และปีก มีลายพาดสีขาวเป็นลักษณะเด่น ตัวเต็มวัย บริเวณหัว ปีก และหางสีดำจะตัดกับสีทาง
ด้านบนลำตัวที่ส่วนใหญ่เป็นสีน้ำตาลแดง ด้านข้างลำตัว สีข้าง และขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีออกเหลือง ด้านล่างลำตัวสีขาว ปลายและขอบของขนหางคู่นอกสีเหลืองแกมน้ำตาลอ่อน
ระบบนิเวศ :
-
พบตามทุ่งโล่ง ป่าละเมาะ ทุ่งนา และชายแเหล่งน้ำต่างๆ มักพบโดดเดี่ยว หรือเป็นคู่ โดยเกาะตามยอดไม้พุ่ม เสาหลัก หรือสายไฟฟ้า ขณะที่เกาะลำตัวเกือบตั้งตรง อาหารได้แก่ สัตว์เลื้อยคลานเล็กๆ โดยเฉพาะจิ้งจกและจิ้งเหลนรวมถึงกบเขียดเล็กๆ และแมลงต่างๆ ด้วย
-
ทุ่งหญ้า/ทุ่งนา/หญ้าสูง/ไม้พุ่มริมน้ำ นกประจำถิ่น
-
ระบบนิเวศป่าไม้, พื้นที่การทำเกษตร
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ทุ่งหญ้า
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
น่าน
-
พะเยา
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
ยะลา,ปัตตานี
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ทำรังตามต้นไม้ขนาดกลาง โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ และต้นหญ้า มาวางซ้อนทับกันและขัดหรือสานสอดเล็กน้อย สีของไข่ผันแปรค่อนข้างมาก โดยจะมีสีพื้นตั้งแต่สีชมพูอ่อนจนถึงสีเหลืองอ่อน หรือสีเขียวอ่อนหรือขาวนวล มีลายจุดและลายดอกดวงสีเทา สืออกแดง และน้ำตาลแกมม่วง ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟัก 14-15 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
พรุลานควาย
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อื่นๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA960085
960085
2
PRJNA328749
328749
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Danaus melarippus
ผีเสื้อหนอนกินผลเงาะ
Tirathaba ruptilinea
Miletus biggsii
Boesemania polykladiskos
Pteroma plagiophleps
Rostellariella delicatula
Previous
Next