Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ixobrychus eurhythmus
Ixobrychus eurhythmus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ixobrychus eurhythmus
(Swinhoe, 1873)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Ardetta eurhythmus Swinhoe, 1873
ชื่อสามัญ::
-
Von Schrenck's Bittern
-
Schrenck’s Bittern
-
Schrenck's Bittern
ชื่อไทย::
-
นกยางไฟหัวเทา
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Pelecaniformes
วงศ์::
Ardeidae
สกุล:
Ixobrychus
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:58 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:58 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
wetlands in forest.
-
พบตามแหล่งน้ำต่างๆ มีกิจกรรมส่วนใหญ่ในตอนเช้าตรู่และเย็นค่ำ แต่บางครั้งก็พบหากินในตอนกลางวัน กินแมลงและตัวหนอนของแมลงต่างๆ เป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
Indo-west Pacific
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Rare passage migrant throughout
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กถึงกลาง (35-36 ซม.) สีของขนทั่วไปเป็นสีน้ำตาลแดง ขนปลายปีกและขนกลางปีกสีเทา ขนปลายหางเป็นสีเทาเข้มตัดกับสีของขนคลุมชนปีกและขนคลุมโคน
ขนหางที่มีสีน้ำตาลแดงชัดเจน ตัวผู้บริเวณหัวมีสีน้ำตาลเข้มเด่นชัด ด้านล่างลำตัวสีน้ำตาลอ่อน ต้นคอมีลายขีดสีน้ำตาล ตัวเมียหัวเป็นสีน้ำตาลแต่ไม่เด่นเท่าตัวผู้ด้านล่างลำตัวสีน้ำตาลและมีลายขีดสีน้ำตาลเข้ม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
กระบี่
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม ทำรังบริเวณป่ากก หรือป่าหญ้าที่ขึ้นตามแหล่งน้ำรังเป็นแบบง่ายๆ โดยใช้ใบพืชต่างๆ มาวางซ้อนทับกัน ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 15-17 วัน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
ONEP Biodiversity Series Vol. 15 : Thailand Red Data : Birds
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
แตนเบียนอิคนูมอนิด
Leptoprion maculipennis
ด้วงเต่าลาย
Olla abdominalis
Anadara oblonga
แมวหูดำ
Setipinna melanochir
Melanella bovicornu
Ophiocara ambinensis
Previous
Next