Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Impatiens sirindhorniae
Impatiens sirindhorniae
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Impatiens sirindhorniae
Triboun & Suksathan
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
ชมพูสิริน
ชื่อท้องถิ่น::
-
เทียนสิรินธร
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Balsaminaceae
สกุล:
Impatiens
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ต.ค. 2562
ที่มา :
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ต.ค. 2561
วันที่อัพเดท :
12 ต.ค. 2561 00:00 น.
วันที่สร้าง:
12 ต.ค. 2561 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 เซนติเมตร แตกกอ ลำต้นอวบน้ำ ดอกสีชมพู เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดกระบี่และสุราษฎร์ธานี ขึ้นตามหน้าผาเขาหินปูน
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 เซนติเมตร แตกกอ ลำต้นอวบน้ำ ดอกสีชมพู เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดกระบี่และสุราษฎร์ธานี ขึ้นตามหน้าผาเขาหินปูน
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 เซนติเมตร แตกกอ ลำต้นอวบน้ำ ดอกสีชมพู เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดกระบี่และสุราษฎร์ธานี ขึ้นตามหน้าผาเขาหินปูน
-
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 20 - 50 เซนติเมตร ลำต้นอวบน้ำ ใบ เดี่ยว เรียงเวียน ออกหนาแน่นตามปลายกิ่ง รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 2 -3 เซนติเมตร ยาว 3-4 เชนติเมตร ปลายแหลม โคนรูปลิ่มกว้าง กลม หรือคล้ายรูปหัวใจตื้น ๆ ขอบจักห่าง ๆ ปลายจักมีติ่ง มีต่อมใกล้โคนเหนือก้านใบ แผ่นใบค่อนข้างหนา เส้นแขนง ใบ 3-6 เส้นในแต่ละข้าง ก้านใบยาว 2-7.5 เซนติเมตร ดอก เดี่ยว หรือออกเป็นกระจุก 2 ดอก ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 3-6.5 เซนติเมตร ใบประดับขนาดเล็กติดใกล้โคนก้านดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบข้าง 4 กลีบ กลีบ คู่นอกรูปไข่ กลีบคู่ในรูปกลม กลีบปากเกือบเป็นถุงลึก ที่โค้งเรียวยาว เว้าเป็นเดือย ยาวได้ถึง 6 เซนติเมตร สีเขียวอ่อน กลีบดอก กลีบปากรูปไข่กลับกว้าง กลีบข้าง คู่นอกติดกัน แฉกลึกประมาณ 2 ใน 3 ส่วน คล้ายรูปหัวใจ กลีบคู่ในรูปไข่กลับ มีความยาวเท่า ๆ กับกลีบคู่นอก สีชมพูอมม่วงอ่อน ผล แบบผลแห้งแตกรูปขอบขนาน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. แตกกอ ลำต้นอวบน้ำมักห้อยลง มีนวล ใบเรียงเวียนหนาแน่นตามปลายกิ่ง รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3-4 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่มกว้าง กลม หรือคล้ายรูปหัวใจตื้น ๆ ขอบจักห่าง ๆ ปลายจักมีติ่ง มีต่อมใกล้โคนเหนือก้านใบ แผ่นใบค่อนข้างหนา เส้นแขนงใบ 3-6 เส้นในแต่ละข้าง เส้นแขนงใบย่อยไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 2-7.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 2 ดอก ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 3-6.5 ซม. ใบประดับขนาดเล็กติดใกล้โคนก้านดอก กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อน กลีบข้าง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่ ยาว 6-7 มม. คู่ในกลม ขนาดประมาณ 2 มม. กลีบปากเป็นถุงลึก โค้งเรียวยาว เว้าเป็นเดือย ยาวได้ถึง 6 ซม. ดอกสีชมพูอมม่วงอ่อน แผ่บานออก กลีบปากรูปไข่กลับกว้าง ยาวประมาณ 2 ซม. กว้างประมาณ 2.5 ซม. โคนมีเขา 1 คู่ ขนาดประมาณ 2 มม. กลีบข้างคู่นอกติดกัน แฉกลึกประมาณ 2 ใน 3 ส่วน คล้ายรูปหัวใจ ยาวประมาณ 2 ซม. กว้างประมาณ 2.5 ซม. กลีบคู่ในรูปไข่กลับ ยาวเท่า ๆ กลีบคู่นอก แคปซูลเต่งกลาง รูปขอบขนาน เกลี้ยง
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. ลำต้นเกาะเลื้อย มักห้อยลง มีนวล ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3-4 ซม. ขอบจักห่าง ๆ มีต่อมที่โคนเหนือก้านใบ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 2-7.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ก้านดอกยาว 3-6.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่ ยาว 6-7 มม. คู่ในกลม ขนาดประมาณ 2 มม. กลีบปากเป็นถุงโค้งเรียวยาวเป็นเดือย ยาวได้ถึง 6 ซม. ดอกสีชมพูอมม่วง ปลายกลีบมีติ่งแหลม กลีบกลางรูปไข่กลับ กว้างประมาณ 2.5 ซม. โคนมีเขาขนาดเล็ก 1 คู่ กลีบปีกเชื่อมติดกัน คู่นอกแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่งคล้ายรูปหัวใจ ยาวประมาณ 2 ซม. กว้างประมาณ 2.5 ซม. คู่ในรูปไข่กลับ ยาวเท่า ๆ คู่นอก ผลเต่งกลาง รูปขอบขนาน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กระบี่,สุราษฎร์ธานี
การกระจายพันธุ์ :
-
Krabi Province, Plaai Phraya district, 20-150m
-
พืชถิ่นเดียวของประเทศไทย พบได้ที่จังหวัดกระบี่และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยจะขึ้นตามหน้าผาเขาหินปูนที่ความสูงประมาณ 200 เมตร
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ข้าวสารหัก
Utricularia subulata
รังกะแท้
Rapanea porteriana
Trichosteleum pinnatum
Impatiens masoni
ตาเสือขน
Goniocheton arborescens
Pinus merkusii
Previous
Next