Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hoya pachyclada
Hoya pachyclada
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hoya pachyclada
Kerr
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ต้างใหญ่
ชื่อท้องถิ่น::
-
ต้าง ดอกตั้ง ป้าง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Hoya
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ อวบหนา รูปไข่กว้าง ขนาดกว้าง 5-8 ซม. ยาว 6-10 ซม. ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ดอก สีขาวครีม เป็นช่อ รูปครึ่งทรงกลม มี 20-30 ดอก ก้านดอกย่อยยาว 2-2.5 ซม. เรียงแบบซี่ร่ม ก้านช่อยาว 2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ขอบกลีบม้วนลงด้านล่าง กลางดอกมีเส้าเกสรเป็นแผ่นรยางค์ 5 แฉก เกสรผู้มี 5 อัน ผลเป็นฝักยาวคู่ ปลายแหลม ขนาดกว้าง 0.3-0.4 ซม. ยาว4-6 ซม. เมล็ดแบน รูปรี มีขนขาวเป็นพู่ที่ปลาย
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ อวบหนา รูปไข่กว้าง ขนาดกว้าง 5-8 ซม. ยาว 6-10 ซม. ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ดอก สีขาวครีม เป็นช่อ รูปครึ่งทรงกลม มี 20-30 ดอก ก้านดอกย่อยยาว 2-2.5 ซม. เรียงแบบซี่ร่ม ก้านช่อยาว 2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ขอบกลีบม้วนลงด้านล่าง กลางดอกมีเส้าเกสรเป็นแผ่นรยางค์ 5 แฉก เกสรผู้มี 5 อัน ผลเป็นฝักยาวคู่ ปลายแหลม ขนาดกว้าง 0.3-0.4 ซม. ยาว4-6 ซม. เมล็ดแบน รูปรี มีขนขาวเป็นพู่ที่ปลาย
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกของประเทศไทย ตามป่าเบญจพรรณ
-
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกของประเทศไทย ตามป่าเบญจพรรณ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อย/ไม้เถา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
มุกดาหาร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูผาเทิบ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ไม้ดอกไม้ประดับ
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dioscorea orbiculata
พริกหมอคาร์
Orophea kerrii
Schismatoglottis brevicuspis
Globba marantina
Fimbristylis eragrostis
Stelechocarpus cauliflorus
Previous
Next