Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hoya ovalifolia
Hoya ovalifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hoya ovalifolia
Wight & Arn.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Hoya hainanensis Merr.
ชื่อไทย::
-
นมตำเลีย
ชื่อท้องถิ่น::
-
สังวาลพระอินทร์ ต้าง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Hoya
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อยอิงอาศัย ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีรากตามข้อลำต้น ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้าม แผ่นใบหนาอวบน้ำ รูปไข่ถึงรูปรี กว้าง 4-10 ซม. ยาว 5-12 ซม. เกลี้ยงทั้งสองด้าน ปลายใบแหลม โคนใบมน ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสีขาว ตรงกลางสีแดง ออกเป็นช่อค่อนข้างกลมคล้ายซี่ร่มตามซอกใบ ดอกย่อยขนาด 0.6-0.8 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ อวบมัน ผลเป็นฝักเรียว ยาว 14-15 ซม. กว้างประมาณ 0.5 ซม. เมล็ดเล็ก แบน รูปไข่ มีขนเป็นพู่ที่ปลาย
-
ไม้เลื้อยอิงอาศัย ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีรากตามข้อลำต้น ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้าม แผ่นใบหนาอวบน้ำ รูปไข่ถึงรูปรี กว้าง 4-10 ซม. ยาว 5-12 ซม. เกลี้ยงทั้งสองด้าน ปลายใบแหลม โคนใบมน ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสีขาว ตรงกลางสีแดง ออกเป็นช่อค่อนข้างกลมคล้ายซี่ร่มตามซอกใบ ดอกย่อยขนาด 0.6-0.8 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ อวบมัน ผลเป็นฝักเรียว ยาว 14-15 ซม. กว้างประมาณ 0.5 ซม. เมล็ดเล็ก แบน รูปไข่ มีขนเป็นพู่ที่ปลาย
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นกระนาขพันธุ์ในอินเดีย ศรีลังกา พม่า ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคของประเทศ ตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณทั่วไป
-
พบขึ้นกระนาขพันธุ์ในอินเดีย ศรีลังกา พม่า ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคของประเทศ ตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cymbopogon calciphilus
Crudia chrysantha
Trichomanes auriculatum
โกฐจุฬาลัมพา โกฐจุฬาลัมพาจีน
Artemisia vulgaris
Syrrhopodon nymanii
Amomum krervanh
Previous
Next