-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ใบ แบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 2-7 คู่เรียงตรงข้าม รูปไข่กลับถึงรูปไข่ กว้าง 1.2-4 ซม. ยาว 3.5-10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อกระจุกแน่นตรงปลายยอด มี 10-15 ดอก กลีบเลี้ยงรูประฆังแคบ ยาว 1.5-5 มม. มีขน กลีบดอกรูปกรวย ยาว 4.5-8 มม. รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝักแบนรูปขนาน กว้าง 3.5ซม. ยาว 20 ซม.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ใบประกอบยาวได้ถึง 12 ซม. ใบประกอบย่อย 1–3 คู่ ยาว 2–13 ซม. มีต่อมบนแกนใบประกอบและใบประกอบย่อย ใบย่อย 2–7 คู่ รูปไข่หรือรูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน เบี้ยว ยาว 3.5–15 ซม. ก้านใบย่อยยาวประมาณ 3 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น แยกแขนง แต่ละช่อกระจุกมี 10–15 ดอก ดอกวงนอกขนาดเล็กกว่าวงใน ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีขนละเอียด หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1.5–5 มม. หลอดกลีบดอกยาว 4.5–8 มม. กลีบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1.5–4 มม. ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาวเท่า ๆ หลอดกลีบเลี้ยง รังไข่เกลี้ยง มีก้านสั้น ๆ ฝักรูปแถบ แบน ยาว 10–30 ซม. แห้งแตก มีได้ถึง 10 เมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 8–9 มม.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ใบ แบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 2-7 คู่เรียงตรงข้าม รูปไข่กลับถึงรูปไข่ กว้าง 1.2-4 ซม. ยาว 3.5-10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อกระจุกแน่นตรงปลายยอด มี 10-15 ดอก กลีบเลี้ยงรูประฆังแคบ ยาว 1.5-5 มม. มีขน กลีบดอกรูปกรวย ยาว 4.5-8 มม. รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝักแบนรูปขนาน กว้าง 3.5ซม. ยาว 20 ซม.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ใบ แบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 2-7 คู่เรียงตรงข้าม รูปไข่กลับถึงรูปไข่ กว้าง 1.2-4 ซม. ยาว 3.5-10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อกระจุกแน่นตรงปลายยอด มี 10-15 ดอก กลีบเลี้ยงรูประฆังแคบ ยาว 1.5-5 มม. มีขน กลีบดอกรูปกรวย ยาว 4.5-8 มม. รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝักแบนรูปขนาน กว้าง 3.5ซม. ยาว 20 ซม.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง40เมตร ใบ แบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 2-7 คู่เรียงตรงข้าม รูปไข่กลับถึงรูปไข่ กว้าง 1.2-4 ซม. ยาว 3.5-10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อกระจุกแน่นตรงปลายยอด มี 10-15 ดอก กลีบเลี้ยงรูประฆังแคบ ยาว 1.5-5 มม. มีขน กลีบดอกรูปกรวย ยาว 4.5-8 มม. รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝักแบนรูปขนาน กว้าง 3.5ซม. ยาว 20 ซม.
-
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าดิบหรือป่าผลัดใบ บริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,200 เมตร
-
พบตามป่าดิบหรือป่าผลัดใบ บริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,200 เมตร
-
พบตามป่าดิบหรือป่าผลัดใบ บริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,200 เมตร
-
พบตามป่าดิบหรือป่าผลัดใบ บริเวณริมน้ำ ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,200 เมตร
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ต้น : ไม้ยืนต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร
ใบ : ใบยาวประมาณ 8-10 ซม. หน้าใบสีเขียวเข้มเป็นมัน 1 ก้านใบจะมีใบเป็นคู่ขนาน 2-3 คู่
ดอก : เป็นช่อสีเหลืองอ่อนห้อยลงมา
ผล : เป็นฝักยาวประมาณ 6-10 ซม. ฝีกอ่อนเขียวเมื่อแก่จะมี
-
ต้น : ไม้ยืนต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร
ใบ : ใบยาวประมาณ 8-10 ซม. หน้าใบสีเขียวเข้มเป็นมัน 1 ก้านใบจะมีใบเป็นคู่ขนาน 2-3 คู่
ดอก : เป็นช่อสีเหลืองอ่อนห้อยลงมา
ผล : เป็นฝักยาวประมาณ 6-10 ซม. ฝีกอ่อนเขียวเมื่อแก่จะมี
-
ต้น : ไม้ยืนต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร
ใบ : ใบยาวประมาณ 8-10 ซม. หน้าใบสีเขียวเข้มเป็นมัน 1 ก้านใบจะมีใบเป็นคู่ขนาน 2-3 คู่
ดอก : เป็นช่อสีเหลืองอ่อนห้อยลงมา
ผล : เป็นฝักยาวประมาณ 6-10 ซม. ฝีกอ่อนเขียวเมื่อแก่จะมี
-
ต้น : ไม้ยืนต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร
ใบ : ใบยาวประมาณ 8-10 ซม. หน้าใบสีเขียวเข้มเป็นมัน 1 ก้านใบจะมีใบเป็นคู่ขนาน 2-3 คู่
ดอก : เป็นช่อสีเหลืองอ่อนห้อยลงมา
ผล : เป็นฝักยาวประมาณ 6-10 ซม. ฝีกอ่อนเขียวเมื่อแก่จะมี
-
ต้น : ไม้ยืนต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร
ใบ : ใบยาวประมาณ 8-10 ซม. หน้าใบสีเขียวเข้มเป็นมัน 1 ก้านใบจะมีใบเป็นคู่ขนาน 2-3 คู่
ดอก : เป็นช่อสีเหลืองอ่อนห้อยลงมา
ผล : เป็นฝักยาวประมาณ 6-10 ซม. ฝีกอ่อนเขียวเมื่อแก่จะมี
-
การขยายพันธุ์ :
-
เมล็ด ปักชำกิ่ง
-
เมล็ด ปักชำกิ่ง
-
เมล็ด ปักชำกิ่ง
-
เมล็ด ปักชำกิ่ง
-
เมล็ด ปักชำกิ่ง
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุทัยธานี
-
พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
กาญจนบุรี
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
ชัยภูมิ
-
กาฬสินธุ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง