Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hoya finlaysonii
Hoya finlaysonii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hoya finlaysonii
Wight
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
พญามุจลินทร์
ชื่อท้องถิ่น::
-
ต้างงูใหญ่ นมเมีย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Hoya
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรี ขนาดกว้าง 6 ซม. ยาว 20 ซม. ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย เส้นใบสีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 1 ซม. ดอกสีเหลืองครีมแกมแดง ออกเป็นช่อรูปครึ่งทรงกลม มีได้ถึง 40 ดอก ก้านดอกย่อยยาว 2.5 ซม. เรียงแบบซี่ร่ม ก้านช่อยาว 2-3 ซม. กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ มีสีแดง กลางดอกมีเส้าเกสรแผ่เป็นรยางค์ 5 แฉก เกสรผู้มี 5 อัน ผลเป็นฝักคู่ปลายแหลม กว้าง 0.4-0.6 ซม. ยาว 10-14 ซม.
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรี ขนาดกว้าง 6 ซม. ยาว 20 ซม. ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย เส้นใบสีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 1 ซม. ดอกสีเหลืองครีมแกมแดง ออกเป็นช่อรูปครึ่งทรงกลม มีได้ถึง 40 ดอก ก้านดอกย่อยยาว 2.5 ซม. เรียงแบบซี่ร่ม ก้านช่อยาว 2-3 ซม. กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ มีสีแดง กลางดอกมีเส้าเกสรแผ่เป็นรยางค์ 5 แฉก เกสรผู้มี 5 อัน ผลเป็นฝักคู่ปลายแหลม กว้าง 0.4-0.6 ซม. ยาว 10-14 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในอินโดนีเซียและบอร์เนียว ในประเทศไทยพบที่ภาคใต้ ตามป่าดิบริมแม่น้ำ
-
พบในอินโดนีเซียและบอร์เนียว ในประเทศไทยพบที่ภาคใต้ ตามป่าดิบริมแม่น้ำ
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Bulbophyllum monanthos
Paracalyx scariosus
Tragus roxburghii
Parastemon urophyllum
Onychium siamense
Polystichum prolificans
Previous
Next