Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Trias picta
Trias picta
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Trias picta
(C.S.P.Parish & Rchb.f.) C.S.P.Parish ex Hemsl.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
เอื้องไตรดอกแดง
ชื่อท้องถิ่น::
-
เอื้องไตรดอกแดง
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Bulbophyllum
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:26 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปไข่หรือเกือบกลม ขนาด 1-2 ซม. มักเรียงชิดกันเป็นกลุ่ม มี 1 ใบ ที่ปลายลำ ใบ รูปรี กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 5-6 ซม. แผ่นใบอวบน้ำ ดอก ออกเดี่ยว บานกว้าง 1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ สีชมพูอ่อน และมีจุดสีม่วงแดงจำนวนมาก กระจายทั่วกลีบ ปลายกลีบแหลม กลีบดอกขนาดเล็กสีม่วงแดง กลีบปากรูปไข่แกมขอบขนาน สีม่วงแดง เกสรตัวผู้สีเหลือง
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปไข่หรือเกือบกลม ขนาด 1-2 ซม. มักเรียงชิดกันเป็นกลุ่ม มี 1 ใบ ที่ปลายลำ ใบ รูปรี กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 5-6 ซม. แผ่นใบอวบน้ำ ดอก ออกเดี่ยว บานกว้าง 1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ สีชมพูอ่อน และมีจุดสีม่วงแดงจำนวนมาก กระจายทั่วกลีบ ปลายกลีบแหลม กลีบดอกขนาดเล็กสีม่วงแดง กลีบปากรูปไข่แกมขอบขนาน สีม่วงแดง เกสรตัวผู้สีเหลือง
ระบบนิเวศ :
-
Mixed deciduous forest, dry evergreen forest.
การกระจายพันธุ์ :
-
Myanmar.
-
พบขึ้นตามป่าดิบทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ที่ระดับ ความสูง 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
-
พบขึ้นตามป่าดิบทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ที่ระดับ ความสูง 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,Tak
-
แม่ฮ่องสอน, ตาก, แม่สอด
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Macrosolen brandisianus
แดง
Parastemon urophyllus
Pyrrosia longifolia
ผักหวานพังงา
Claoxylon oliganthum
Fimbristylis cinnamometorum
Melobesia farinosa
Previous
Next