Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hoya engleriana
Hoya engleriana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hoya engleriana
Hosseus
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
ดาวลดา
ชื่อท้องถิ่น::
-
สายตะขาบ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Hoya
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ลำต้นเล็กกลม เกาะห้อยลง ยาว 10-30 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่แกมขอบขนานแคบ ขนาดกว้าง 0.6-1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผิวใบด้านล่างสีซีด ก้านใบยาว 3 มม. ดอกสีขาวแกมม่วงแดง ออกเป็นช่อรูปครึ่งทรงกลม มี 4-6 ดอก บานพร้อมกัน ออกที่ปลายยอด ก้านดอกย่อยยาว 1-1.5 ซม. เรียงแบบซี่ร่ม กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่ ขนาดเล็ก กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ส่วนปลายสุดเป็นติ่งแหลม กลางดอกมีเส้าเกสรแผ่เป็นรยางค์ 5 แฉก สีม่วง เกสรผู้มี 5 อัน
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ลำต้นเล็กกลม เกาะห้อยลง ยาว 10-30 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่แกมขอบขนานแคบ ขนาดกว้าง 0.6-1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผิวใบด้านล่างสีซีด ก้านใบยาว 3 มม. ดอกสีขาวแกมม่วงแดง ออกเป็นช่อรูปครึ่งทรงกลม มี 4-6 ดอก บานพร้อมกัน ออกที่ปลายยอด ก้านดอกย่อยยาว 1-1.5 ซม. เรียงแบบซี่ร่ม กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่ ขนาดเล็ก กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ส่วนปลายสุดเป็นติ่งแหลม กลางดอกมีเส้าเกสรแผ่เป็นรยางค์ 5 แฉก สีม่วง เกสรผู้มี 5 อัน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในตอนใต้ของจีนและตอนเหนือของพม่า ในประเทศไทยพบในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงตั้งแต่ 1,400 ม. ขึ้นไป
-
พบในตอนใต้ของจีนและตอนเหนือของพม่า ในประเทศไทยพบในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงตั้งแต่ 1,400 ม. ขึ้นไป
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Alseodaphne andersonii
Coelogyne leucantha
Hedera himalaica
Symphysodon splendens
ผักแว่นดอย
Oxalis debilis
Sigesbeckia orientalis
Previous
Next