Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Dissochaeta divaricata
Dissochaeta divaricata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Dissochaeta divaricata
(Walld.) G.Don
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
พลองอินทร์
ชื่อท้องถิ่น::
-
Phlong in
-
ครังต้น (สุราษฎร์ธานี); พลองอินทร์ (ตรัง)
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Melastomataceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม่พุ่มกึ่งเลื้อย มีขนกระจุกแข็งคล้ายหนามตามข้อ ข้อเป็นสันนูน ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 6.5-17 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนมนกลม แผ่นใบหนา ด้านล่างมีขนละเอียดแบะขนกระจุกแซม เส้นโค้งใบข้างละ 1-2 เส้น เรียวจรดปลายใบ ก้านใบ 0.5-2 ซม. ขอบมักมีขนแข็ง ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ช่อที่ปลายกึ่งยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกหนา ยาว 5-6 ซม. ใบประดับคล้ายใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 0.4-1.4 ซม ร่วงเร็ว ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 4-5ช6 มม. ปลสยเป็นขอบตัดหนาสูงประมาณ 1 มม. กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผู้ 4 อันอยู่วงใน อับเรณูรูปตัวเอส ยาว 5-7.5 มม. มีช่องเปิดช่องเดียว โคนอีบเรณูจัก 2-3 พู เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4 อัน อยู่วงนอก ยาว 1.5-4.5 มม. ปลายมีรยางค์รูปเส้นด้าย รังไข่แนบติดถุงเกสรเพศผู้ ผลสดมีหลายเมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 8 มม. สุกสีม่วงดำ เมล็ดจำนวนมากขนาดเล็ก
-
ไม่พุ่มกึ่งเลื้อย มีขนกระจุกแข็งคล้ายหนามตามข้อ ข้อเป็นสันนูน ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 6.5-17 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนมนกลม แผ่นใบหนา ด้านล่างมีขนละเอียดแบะขนกระจุกแซม เส้นโค้งใบข้างละ 1-2 เส้น เรียวจรดปลายใบ ก้านใบ 0.5-2 ซม. ขอบมักมีขนแข็ง ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ช่อที่ปลายกึ่งยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกหนา ยาว 5-6 ซม. ใบประดับคล้ายใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 0.4-1.4 ซม ร่วงเร็ว ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 4-5ช6 มม. ปลสยเป็นขอบตัดหนาสูงประมาณ 1 มม. กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผู้ 4 อันอยู่วงใน อับเรณูรูปตัวเอส ยาว 5-7.5 มม. มีช่องเปิดช่องเดียว โคนอีบเรณูจัก 2-3 พู เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4 อัน อยู่วงนอก ยาว 1.5-4.5 มม. ปลายมีรยางค์รูปเส้นด้าย รังไข่แนบติดถุงเกสรเพศผู้ ผลสดมีหลายเมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 8 มม. สุกสีม่วงดำ เมล็ดจำนวนมากขนาดเล็ก
-
ไม่พุ่มกึ่งเลื้อย มีขนกระจุกแข็งคล้ายหนามตามข้อ ข้อเป็นสันนูน ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 6.5-17 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนมนกลม แผ่นใบหนา ด้านล่างมีขนละเอียดแบะขนกระจุกแซม เส้นโค้งใบข้างละ 1-2 เส้น เรียวจรดปลายใบ ก้านใบ 0.5-2 ซม. ขอบมักมีขนแข็ง ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ช่อที่ปลายกึ่งยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกหนา ยาว 5-6 ซม. ใบประดับคล้ายใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 0.4-1.4 ซม ร่วงเร็ว ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 4-5ช6 มม. ปลสยเป็นขอบตัดหนาสูงประมาณ 1 มม. กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผู้ 4 อันอยู่วงใน อับเรณูรูปตัวเอส ยาว 5-7.5 มม. มีช่องเปิดช่องเดียว โคนอีบเรณูจัก 2-3 พู เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4 อัน อยู่วงนอก ยาว 1.5-4.5 มม. ปลายมีรยางค์รูปเส้นด้าย รังไข่แนบติดถุงเกสรเพศผู้ ผลสดมีหลายเมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 8 มม. สุกสีม่วงดำ เมล็ดจำนวนมากขนาดเล็ก
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด
-
เพาะเมล็ด
-
เพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Liparis wrayi
Trigonostemon heterophylla
Stemona collinsiae
Persea gamblei
Geodorum pulchellum
Dendrobium fairchildiae
Previous
Next