Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Habenaria chlorine
Habenaria chlorine
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Goodyera procera
Hook.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
นางอั้วสีตอง
ชื่อท้องถิ่น::
-
เอื้องสีตอง,นางอั้วเหลือง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Habenaria
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นกล้วยไม้ดินชนิดหนึ่งที่เจริญได้ดีในสภาพพื้นที่แบบทุ่งหญ้า สามารถมีชีวิตรอดอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้งได้ เนื่องจากมีหัวที่ฝังอยู่ใต้ดินทำหน้าที่เก็บน้ำและสะสมอาหาร จึงสามารถขาดน้ำติดต่อกันเป็นเวลาหลายเดือน โดยความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับฤดูกาล โดยมีการแบ่งระหว่างช่วงเจริญเติบโตและช่วงการพักตัว ในบางแห่งที่แห้งแล้งยาวนาน ปริมาณน้ำฝนต่ำ และเกิดไฟป่าทุกปี ยังสามารถพบเอื้องสีตองได้ ในช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม จะเป็นช่วงเวลาที่จะได้ยลโฉมความงามของดอกเอื้องสีตอง โดยสามารถสังเกตกล้วยไม้ที่ขึ้นอยู่ตามพื้นดิน และมีช่อดอกยาว 10 – 20 เซนติเมตร มีดอกจำนวนมากเรียงบนแก่นช่อดอก ดอกบานไปสู่ปลายช่อ ดอกมีสีเขียวอ่อนแต้มสีม่วงดำ
-
เป็นกล้วยไม้ดินชนิดหนึ่งที่เจริญได้ดีในสภาพพื้นที่แบบทุ่งหญ้า สามารถมีชีวิตรอดอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้งได้ เนื่องจากมีหัวที่ฝังอยู่ใต้ดินทำหน้าที่เก็บน้ำและสะสมอาหาร จึงสามารถขาดน้ำติดต่อกันเป็นเวลาหลายเดือน โดยความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับฤดูกาล โดยมีการแบ่งระหว่างช่วงเจริญเติบโตและช่วงการพักตัว ในบางแห่งที่แห้งแล้งยาวนาน ปริมาณน้ำฝนต่ำ และเกิดไฟป่าทุกปี ยังสามารถพบเอื้องสีตองได้ ในช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม จะเป็นช่วงเวลาที่จะได้ยลโฉมความงามของดอกเอื้องสีตอง โดยสามารถสังเกตกล้วยไม้ที่ขึ้นอยู่ตามพื้นดิน และมีช่อดอกยาว 10 – 20 เซนติเมตร มีดอกจำนวนมากเรียงบนแก่นช่อดอก ดอกบานไปสู่ปลายช่อ ดอกมีสีเขียวอ่อนแต้มสีม่วงดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบได้ทั่วไปตามแถบเอเชียตะวันออกเฉียงไต้
-
พบได้ทั่วไปตามแถบเอเชียตะวันออกเฉียงไต้
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Philonotis perlaxifolia
Jasminum annamense
Ptisana sambucina
สิงโตร่ม
Cirrhopetalum auratum
Dioscorea arachidna
กาบหอยตระนาวศรี
Vandellia yamazakii
Previous
Next