Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Amherstia nobilis
Amherstia nobilis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Amherstia nobilis
Wall.
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Amherstia, Queen of flowering tree, Pride of Burma
ชื่อไทย:
-
โสกระย้า
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
-
โสกเหลือง Sok lueng
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Amherstia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ยอดอ่อนสีจางและห้อยลง ใบ เป็นใบประกอบแบบปลายคู่ มีใบย่อย 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ถึงแกมรูปไข่ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ผิวใบเกลี้ยง หูใบหลุดร่วงง่าย ดอก ออกเป็นช่อห้อยลง ดอกย่อย สีแดงสด ขนาด 5-8 ซม. กลีบรองดอก 4 กลีบ คล้ายกลีบดอก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สองกลีบล่างขนาดเล็ก กลีบข้าง รูปช้อนสีแดงส่วนปลายกลีบมนมีสีแกมเหลือง กลีบบนแผ่รูปพัด ขอบเป็นคลื่น มีจุดและแถบคล้ายรูปตัววีสีแดง ล้อมรอบด้วยแถบ สีเหลือง เกสรผู้ 10 อัน ก้านชูเกสรเพศเมียสีแดง ยาว 4 ซม. ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนานโค้ง กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-20 ซม. ผลแก่แตกตามรอย ตะเข็บข้างภายใน มี 4-6 เมล็ด รูปกลม
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบบาง รูปใบหอก ยาว 2–3 ซม. ร่วงเร็ว ใบประกอบเรียงเวียน แกนใบประกอบยาว 20–40 ซม. ก้านใบประกอบสั้น ใบย่อยมี 4–8 คู่ รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 7–34 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลม ก้านใบย่อยหนา ยาว 4–6 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง ห้อยลง ยาว 50–80 ซม. ก้านดอกยาว 12–30 ซม. ใบประดับย่อยสีแดง รูปใบหอก ยาว 4–9 ซม. ติดทน ฐานดอกยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปใบหอก ยาว 3–5.5 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ 2 กลีบล่างคล้ายขนแข็งขนาดเล็ก กลีบคู่ข้างรูปใบพาย ยาว 5.5–7 ซม. ปลายกลีบมีสีเหลืองแต้ม กลีบกลางคล้ายพัด ยาวเท่า ๆ กลีบคู่ข้าง ขอบด้านบนเป็นคลื่น พื้นสีขาวอมชมพู ปลายกลีบสีเข้ม มีจุดสีแดงและปื้นสีเหลือง เกสรเพศผู้ 10 อัน 9 อันเชื่อมติดกัน 2.5–3 ซม. ช่วงแยกยาวไม่เท่ากัน อันยาว 5 อัน ยาว 3.5–5 ซม. รังไข่มีก้าน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 4 ซม. ยอดเกสรขนาดเล็ก ฝักแบน รูปขอบขนาน ยาว 15–20 ซม. มี 4–6 เมล็ด เมล็ดรูปไข่ แบน ยาว 2–2.5 ซม.
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ยอดอ่อนสีจางและห้อยลง ใบ เป็นใบประกอบแบบปลายคู่ มีใบย่อย 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ถึงแกมรูปไข่ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ผิวใบเกลี้ยง หูใบหลุดร่วงง่าย ดอก ออกเป็นช่อห้อยลง ดอกย่อย สีแดงสด ขนาด 5-8 ซม. กลีบรองดอก 4 กลีบ คล้ายกลีบดอก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สองกลีบล่างขนาดเล็ก กลีบข้าง รูปช้อนสีแดงส่วนปลายกลีบมนมีสีแกมเหลือง กลีบบนแผ่รูปพัด ขอบเป็นคลื่น มีจุดและแถบคล้ายรูปตัววีสีแดง ล้อมรอบด้วยแถบ สีเหลือง เกสรผู้ 10 อัน ก้านชูเกสรเพศเมียสีแดง ยาว 4 ซม. ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนานโค้ง กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-20 ซม. ผลแก่แตกตามรอย ตะเข็บข้างภายใน มี 4-6 เมล็ด รูปกลม
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ยอดอ่อนสีจางและห้อยลง ใบ เป็นใบประกอบแบบปลายคู่ มีใบย่อย 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ถึงแกมรูปไข่ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ผิวใบเกลี้ยง หูใบหลุดร่วงง่าย ดอก ออกเป็นช่อห้อยลง ดอกย่อย สีแดงสด ขนาด 5-8 ซม. กลีบรองดอก 4 กลีบ คล้ายกลีบดอก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สองกลีบล่างขนาดเล็ก กลีบข้าง รูปช้อนสีแดงส่วนปลายกลีบมนมีสีแกมเหลือง กลีบบนแผ่รูปพัด ขอบเป็นคลื่น มีจุดและแถบคล้ายรูปตัววีสีแดง ล้อมรอบด้วยแถบ สีเหลือง เกสรผู้ 10 อัน ก้านชูเกสรเพศเมียสีแดง ยาว 4 ซม. ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนานโค้ง กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-20 ซม. ผลแก่แตกตามรอย ตะเข็บข้างภายใน มี 4-6 เมล็ด รูปกลม
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ยอดอ่อนสีจางและห้อยลง ใบ เป็นใบประกอบแบบปลายคู่ มีใบย่อย 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ถึงแกมรูปไข่ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ผิวใบเกลี้ยง หูใบหลุดร่วงง่าย ดอก ออกเป็นช่อห้อยลง ดอกย่อย สีแดงสด ขนาด 5-8 ซม. กลีบรองดอก 4 กลีบ คล้ายกลีบดอก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สองกลีบล่างขนาดเล็ก กลีบข้าง รูปช้อนสีแดงส่วนปลายกลีบมนมีสีแกมเหลือง กลีบบนแผ่รูปพัด ขอบเป็นคลื่น มีจุดและแถบคล้ายรูปตัววีสีแดง ล้อมรอบด้วยแถบ สีเหลือง เกสรผู้ 10 อัน ก้านชูเกสรเพศเมียสีแดง ยาว 4 ซม. ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนานโค้ง กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-20 ซม. ผลแก่แตกตามรอย ตะเข็บข้างภายใน มี 4-6 เมล็ด รูปกลม
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย เมียนม่าห์ อินโดจีน และภาคเหนือของประเทศไทย ตามริมห้วยในป่าดิบแล้ง ออกดอก ช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์
-
Burma, N Thailand: Mae Hong Son
-
อินเดีย เมียนม่าห์ อินโดจีน และภาคเหนือของประเทศไทย ตามริมห้วยในป่าดิบแล้ง ออกดอก ช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์
-
อินเดีย เมียนม่าห์ อินโดจีน และภาคเหนือของประเทศไทย ตามริมห้วยในป่าดิบแล้ง ออกดอก ช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์
-
อินเดีย เมียนม่าห์ อินโดจีน และภาคเหนือของประเทศไทย ตามริมห้วยในป่าดิบแล้ง ออกดอก ช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Dry evergreen forest at low altitudes.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพสูญพันธุ์ในธรรมชาติ Extinct in the Wild: EW (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพสูญพันธุ์ในธรรมชาติ Extinct in the Wild: EW (ONEP, 2549)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Show
10
25
50
100
entries
Search:
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1021608
1021608
2
PRJEB42299
700048
3
PRJNA628438
628438
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
Showing 1 to 3 of 3 entries
Previous
1
Next
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dendrobium indragiriense
Atherolepis pierrei
สาหร่าย
Spirogyra sp
Chloris barbata
Hedyotis vestita
ไก๊
Homalium ceylanicum
Previous
Next