Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Desmodium heterocarpon
Desmodium heterocarpon
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Desmodium heterocarpon
(L.) DC.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Khang khanna
-
Khon thi din
ชื่อไทย:
-
ขางคันนา
-
คนทิดิน
-
เชียดน้อย
ชื่อท้องถิ่น::
-
ขางคันนา ขางคันนาแดง(เชียงใหม่) พึงฮวย(ชุมพร) เส่งช้างโชก(กะเหรี่ยง ลำปาง) หญ้าตืดหมา (ลำปาง)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Grona
ปีที่ตีพิมพ์:
2014
วันที่อัพเดท :
10 พ.ย. 2566 00:00 น.
วันที่สร้าง:
10 พ.ย. 2566 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก
-
สูง 50-175 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.8-5.2 เซนติเมตร ใบเป็นแบบขนนกมี 3 ใบย่อย (tridoliate) ใบบนสุดมีขนาดกว้าง 1.6-2.8 เซนติเมตร ยาว 3.0-3.5 เซนติเมตร ใบด้านข้างกว้าง1.1-2.0 เซนติเมตร ยาว 2.3-4.0 เซนติเมตร ก้านใบยาว1.4-2.2 เซนติเมตร ช่อดอกยาว 4.3-5.8 เซนติเมตร ฝักยาว 1.3-3.0 เซนติเมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ต้นมีลักษณะกึ่งตั้งกึ่งเลื้อยถึงแผ่คลุมดิน ลำต้นสีเขียวอ่อน ส่วนที่ถูกแสงมักมีสีน้ำตาลแดงเข้ม ด้านล่างที่ไม่ถูกแสงมีสีเขียวอ่อน มีขนสีขาวนวลปกคลุมหนาแน่น ใบมีสีเขียวถึงค่อนข้างเขียวเข้ม หลังใบมีขนสีขาวขึ้นปกคลุมหนาแน่น แต่ขนจะสั้นกว่า Desmodium styracifolium ด้านหน้าใบไม่มีขน พบบางสายพันธุ์มีขนเล็กๆกระจายอยู่ตามเส้นใบและแผ่นใบด้านหน้า การจัดเรียงตัวของใบเป็นแบบขนนกมี 3 ใบย่อย (tridoliate) ใบบนสุดเป็นรูปไข่กลับ (obovate) หรือรูปไข่กลับแกมใบหอก (obovate -lanceolate) ส่วนใบด้านข้างเป็นรูปไข่กลับ และรูปวงรี (oval) หูใบ (stipule) สีน้ำตาลถึงน้ำตางแดงเข้มออกดอกที่ปลายยอด การออกดอกเป็นแบบ indeterminate กลีบดอกสีม่วงหรือม่วงปนขาวนวล อับเรณู (anther) สีเหลืองปนน้ำตาล ก้านอับเรณู (filament) สีแดง เกสรเพศเมีย (stigma) สีเหลืองอ่อนปนเขียว ก้านเกสรเพศเมีย (style) สีเขียว ช่อดอกมีดอกย่อย 43-90 ดอก ฝักมีขน และคอดหักเป็นข้อๆแต่ละฝักมีเมล็ด 4-9 เมล็ด บางช่อดอกย่อยฝีกจะมีเมล็ดเพียง 1 เมล็ด ออกดอกติดเมล็ดดีมาก ที่อำเภอราษีไศลจังหวัดศรีสะเกษ จะออกดอกติดเมล็ดเร็วกว่า ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานีเริ่มออกดอกเดือนพฤษภาคม แต่จะออกดอกมากในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ยะลา, นราธิวาส, นครราชสีมา, กาญจนบุรี, อุบลราชธานี, เพชรบูรณ์, ศรีสะเกษ, ขอนแก่น
-
ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 76-892 เมตร บริเวณอำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอป่าพยอม จังหวัดพัทลุง อำเภอหาดใหญ่ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา อำเภอเบตง จังหวัดยะลา อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส อำเภอโคกกรวด จังหวัดนครราชสีมา อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1021556
1021556
2
PRJNA557933
557933
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
มันขี้หนู
Coleus parvifolius
Chrysoglossum assamicum
Dracaena angustifolia
Loeseneriella macratnha
Hetaeria rubens
มะไฟนกคุ่ม
Ammania baccifera
Previous
Next