Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Fissistigma minuticalyx
Fissistigma minuticalyx
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Fissistigma minuticalyx
(McGregor & W.W.Sm.) Chatterjee
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
เถาสำรอก
ชื่อท้องถิ่น::
-
ดอกน้ำตาล
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Fissistigma
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้รอเลื้อยขนาดกลาง ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีแกมขอบ ขนาน ขนาดกว้าง 3.5-4.5 ซม. ยาว 11-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ หลังใบมีเส้นใบเด่นชัดและมีขน สีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่น ดอก สีเหลือง ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 2-5 ดอก ตามกิ่งด้านตรงกันข้ามกับใบ กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ มีขนาดเล็ก กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ชั้นนอกรูปไข่แกมหอก ขนาด 14-16 มม. ชั้นในรูปสามเหลี่ยม ขนาดเล็กกว่าชั้นนอก โคนกลีบสีแดง เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม มีผลย่อยได้ถึง 12 ผล สีน้ำตาล เปลือกหนา มีขนอ่อนนุ่ม
-
ไม้รอเลื้อยขนาดกลาง ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีแกมขอบ ขนาน ขนาดกว้าง 3.5-4.5 ซม. ยาว 11-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ หลังใบมีเส้นใบเด่นชัดและมีขน สีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่น ดอก สีเหลือง ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 2-5 ดอก ตามกิ่งด้านตรงกันข้ามกับใบ กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ มีขนาดเล็ก กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ชั้นนอกรูปไข่แกมหอก ขนาด 14-16 มม. ชั้นในรูปสามเหลี่ยม ขนาดเล็กกว่าชั้นนอก โคนกลีบสีแดง เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม มีผลย่อยได้ถึง 12 ผล สีน้ำตาล เปลือกหนา มีขนอ่อนนุ่ม
-
ไม้รอเลื้อยขนาดกลาง ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีแกมขอบ ขนาน ขนาดกว้าง 3.5-4.5 ซม. ยาว 11-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ หลังใบมีเส้นใบเด่นชัดและมีขน สีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่น ดอก สีเหลือง ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 2-5 ดอก ตามกิ่งด้านตรงกันข้ามกับใบ กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ มีขนาดเล็ก กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ชั้นนอกรูปไข่แกมหอก ขนาด 14-16 มม. ชั้นในรูปสามเหลี่ยม ขนาดเล็กกว่าชั้นนอก โคนกลีบสีแดง เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม มีผลย่อยได้ถึง 12 ผล สีน้ำตาล เปลือกหนา มีขนอ่อนนุ่ม
-
ไม้รอเลื้อยขนาดกลาง ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีแกมขอบ ขนาน ขนาดกว้าง 3.5-4.5 ซม. ยาว 11-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ หลังใบมีเส้นใบเด่นชัดและมีขน สีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่น ดอก สีเหลือง ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 2-5 ดอก ตามกิ่งด้านตรงกันข้ามกับใบ กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ มีขนาดเล็ก กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ชั้นนอกรูปไข่แกมหอก ขนาด 14-16 มม. ชั้นในรูปสามเหลี่ยม ขนาดเล็กกว่าชั้นนอก โคนกลีบสีแดง เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม มีผลย่อยได้ถึง 12 ผล สีน้ำตาล เปลือกหนา มีขนอ่อนนุ่ม
การกระจายพันธุ์ :
-
แอฟริกา อินเดีย เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มกราคม-มีนาคม
-
แอฟริกา อินเดีย เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มกราคม-มีนาคม
-
แอฟริกา อินเดีย เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มกราคม-มีนาคม
-
แอฟริกา อินเดีย เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มกราคม-มีนาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Stylidium tenellum
Liparis petiolata
กระเทียมต้น
Allium ampeloplasum
Maxburretia furtadoana
Parinari anamensis
Cyanotis cristata
Previous
Next