Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Eremochloa ciliatifolia
Eremochloa ciliatifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Eremochloa ciliatifolia
Hack.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Eremochloa helferi Munro
- Eremochloa helferi Munro ex Hook.f.
- Ischaemum helferi Munro
ชื่อสามัญ::
-
หญ้าหางนกยูงขนยาว (ชาญชัย)
ชื่อไทย::
-
หญ้าหางนกยูงขนยาว
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Eremochloa
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:31 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:31 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Annual tufted herb.
-
ต้นสูง 45-60 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.4-2.0 มิลลิเมตร ใบยาว 8-14 เซนติเมตร กว้าง 7-9 มิลลิเมตร กาบใบยาว 6-9 เซนติเมตร ช่อดอก (inflorescence) ยาว 22-30 เซนติเมตร ส่วนHeadของช่อดอกยาว 5-7 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
Grasslands, deciduous dipterocarp and pine forests, 250-1,300 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Mayanmar, Vietnam.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Petchabun,Loei,Chaiyaphum,Trat
-
อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี แตกกอขนาดเล็กค่อนข้างตั้ง ใบเป็นแบบรูปใบแคบ (linear) ขอบใบขนานเกือบถึงปลายใบ ปลายใบทู่และมีขนาดใบใหญ่กว่าหญ้าหางนกยูงขนสั้น (E. zeylanica) ใบเรียบ ขอบใบมีหยักแบบขนครุย (ciliate) และสากมือ ใกล้ๆฐานใบมีขนตามขอบใบ กาบใบไม่มีขน ลักษณะกาบใบบีบตัวแบนเป็นสันเช่นเดียวกับของหญ้ามาเลเซีย ลิ้นใบ (ligule) แบบแผ่นเยื่อบางๆปลายเรียบ (membranous entire) สูง 0.8-1.0 มิลลิเมตร ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-มกราคม ช่อดอกออกที่ปลายยอดแบบช่อเชิงลดกลายๆ (spike like raceme) กลุ่มดอกย่อย (spikelet) เรียงแนบต่อเนื่องด้านเดียวบนแกนช่อดอก(rachis) กลุ่มดอกย่อยเกาะเป็นคู่ คู่ละ2กลุ่ม กลุ่มดอกสมบูรณ์เพศ (fertile) ไม่มีก้านส่วนกลุ่มดอกหมัน(infertile)มีก้านดอกชัดเจนโดยปลายก้านขยายใหญ่กว่าส่วนโคน กาบดอก (glume) แข็งหนาเป็นเงาวาว ขอบกาบดอกมีขนหนามแข็ง (spine) ยาว 2 -3 มิลลิเมตร มีสีเขียวถึงเขียวแกมแดงเข้มขึ้นเรียงริมขอบตลอดทั้งดอก ดอกย่อย (floret) รูปรีถึงรูปขอบขนาน (elliptic-oblong) มีสีม่วงอมแดงและฐานดอก รูปป้านมน อับเรณู (anther) สีเหลืองถึงเหลืองแกมม่วงแดง ยอดเกสรตัวเมีย (stigma) สีเหลืองถึงสีม่วงอมแดง
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอโพธิ์ไทร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA919033
919033
2
PRJNA863393
863393
3
PRJEB49212
787873
4
PRJNA771761
771761
5
PRJNA687624
687624
6
PRJNA682293
682293
7
PRJNA515087
515087
8
PRJNA437781
437781
9
PRJNA437179
437179
10
PRJNA430582
430582
11
PRJNA390387
390387
12
PRJNA390386
390386
13
PRJNA275556
275556
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Teratophyllum rotundifoliatum
Flickingeria angustifolia
Ischaemum hansenii
Plectocomia pierreana
Piper betle
Dioscorea craibiana
Previous
Next