Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Acacia harmandiana
Acacia harmandiana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Acacia harmandiana
(Pierre) Gagnep.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
กระถินพิมาน
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระถินพิมาน (ภาคกลาง), คะยา, หนามขาว (ภาคเหนือ), กระถินป่า, แฉลบขาว, แฉลบ, วิมานแดง, กระถินวิมาน (สุโขทัย), กระถินแดง, กระถินขาว
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Fabaceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกเรียบสีเทา หูใบเป็นหนาม ยาวได้ถึง 6 ซม. ติดทน บางครั้งออกชิดกันดูคล้ายเรียงซ้อน ใบประกอบแกนกลางยาวได้ถึง 18 ซม. ก้านยาว 1-5 ซม. มีหรือไม่มีต่อมด้านบน ใบประกอบย่อย 1-5 คู่ ยาว 4-12 ซม. ก้านสั้น ใบย่อย 4-13 คู่ รูปขอบขนาน เบี้ยว ยาว 0.6-3.5 ซม. ปลายกลมหรือตัด เว้าตื้น หรือมีติ่งแหลม ไร้ก้าน ช่อดอกสีขาว แยกแขนง ใบประดับติดใต้กึ่งกลางก้านช่อ ใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงยาว 0.9-1.1 มม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบดอกเชื่อม ติดกันประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้ 15-22 อัน รังไข่มีขนละเอียด ฝักรูปแถบ แบน ยาว 6-13 ซม. บิดงอ เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 5.5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระถินเทศ สกุล) พบที่ภูมิภาคอินโดจีน และอาจพบในพม่า ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง จนถึงความสูงประมาณ 300 เมตร นิยม ใช้เลี้ยงครั่ง
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกเรียบสีเทา หูใบเป็นหนาม ยาวได้ถึง 6 ซม. ติดทน บางครั้งออกชิดกันดูคล้ายเรียงซ้อน ใบประกอบแกนกลางยาวได้ถึง 18 ซม. ก้านยาว 1-5 ซม. มีหรือไม่มีต่อมด้านบน ใบประกอบย่อย 1-5 คู่ ยาว 4-12 ซม. ก้านสั้น ใบย่อย 4-13 คู่ รูปขอบขนาน เบี้ยว ยาว 0.6-3.5 ซม. ปลายกลมหรือตัด เว้าตื้น หรือมีติ่งแหลม ไร้ก้าน ช่อดอกสีขาว แยกแขนง ใบประดับติดใต้กึ่งกลางก้านช่อ ใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงยาว 0.9-1.1 มม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบดอกเชื่อม ติดกันประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้ 15-22 อัน รังไข่มีขนละเอียด ฝักรูปแถบ แบน ยาว 6-13 ซม. บิดงอ เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 5.5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระถินเทศ สกุล) พบที่ภูมิภาคอินโดจีน และอาจพบในพม่า ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง จนถึงความสูงประมาณ 300 เมตร นิยม ใช้เลี้ยงครั่ง
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ajuga bracteosa
Bulbophyllum pulchellum
Staurogyne spathulata
Mallotus floribundus
Micromelum hirsutum
ว่านไก่โต้ง
Aeschynanthus speciosus
Previous
Next