Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Doryopteris ludens
Doryopteris ludens
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Doryopteris ludens
(Wall. ex Hook.) J.Sm.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
เฟินใบองุ่น
-
เฟินราชินี
-
แพนตาโก
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระปรอกด่าง เฟินใบตำลึง
-
กะปรอกว่าว, กูดฮู้กวาว, แพนตาโก, เฟินราชินี
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Pteridaceae
สกุล:
Calciphilopteris
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:30 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:30 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าเลื้อย ทอดยาวไปตามพื้นดิน ก้านใบมีสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม เป็นมัน ใบคล้ายใบองุ่นหรือใบตำลึง ใบที่ไม่สร้างสปอร์จะมีขนาด 1.5-20 * 10-20 ซม. มีลักษณะเป็น 5 แฉก ใบที่สร้างสปอร์จะมีก้านยาวกว่า ความยาวของใบรวมทั้งก้านยาวถึง 20 ซม. กลุ่มของอับสปอร์เกิดตามขอบใบ เมื่อแก่มีสีดำ
-
ใบขนาดเล็ก ไม่มีการสร้างสปอร์
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าเลื้อย ทอดยาวไปตามพื้นดิน ก้านใบมีสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม เป็นมัน ใบคล้ายใบองุ่นหรือใบตำลึง ใบที่ไม่สร้างสปอร์จะมีขนาด 1.5-20 * 10-20 ซม. มีลักษณะเป็น 5 แฉก ใบที่สร้างสปอร์จะมีก้านยาวกว่า ความยาวของใบรวมทั้งก้านยาวถึง 20 ซม. กลุ่มของอับสปอร์เกิดตามขอบใบ เมื่อแก่มีสีดำ
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าเลื้อย ทอดยาวไปตามพื้นดิน ก้านใบมีสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม เป็นมัน ใบคล้ายใบองุ่นหรือใบตำลึง ใบที่ไม่สร้างสปอร์จะมีขนาด 1.5-20 * 10-20 ซม. มีลักษณะเป็น 5 แฉก ใบที่สร้างสปอร์จะมีก้านยาวกว่า ความยาวของใบรวมทั้งก้านยาวถึง 20 ซม. กลุ่มของอับสปอร์เกิดตามขอบใบ เมื่อแก่มีสีดำ
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าเลื้อย ทอดยาวไปตามพื้นดิน ก้านใบมีสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม เป็นมัน ใบคล้ายใบองุ่นหรือใบตำลึง ใบที่ไม่สร้างสปอร์จะมีขนาด 1.5-20 * 10-20 ซม. มีลักษณะเป็น 5 แฉก ใบที่สร้างสปอร์จะมีก้านยาวกว่า ความยาวของใบรวมทั้งก้านยาวถึง 20 ซม. กลุ่มของอับสปอร์เกิดตามขอบใบ เมื่อแก่มีสีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
มักพบตามพื้นดินที่มีอินทรียวัตถุสูง ในป่าดงดิบที่ค่อนข้างชื้น ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล 200-1,000 เมตร
-
มักพบตามพื้นดินที่มีอินทรียวัตถุสูง ในป่าดงดิบที่ค่อนข้างชื้น ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล 200-1,000 เมตร
-
มักพบตามพื้นดินที่มีอินทรียวัตถุสูง ในป่าดงดิบที่ค่อนข้างชื้น ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล 200-1,000 เมตร
-
มักพบตามพื้นดินที่มีอินทรียวัตถุสูง ในป่าดงดิบที่ค่อนข้างชื้น ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล 200-1,000 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
-
หมู่เกาะอ่างทอง, เกาะสามเส้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กาญจนบุรี, พระนครศรีอยุธยา, นครปฐม, อุดรธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ราชบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นบนดิน
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Greenia colymbosa
Lindsaea odorata
Elaphoglossum stelligerum
หญ้าข้าวก่ำ
Buchnera cruciata
Vincetoxicum sootepense
Tectaria siifolia
Previous
Next