Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Acacia pennata
Acacia pennata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Acacia pennata
(L.) Willd.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Dugandia Britton & Killip
- Manganaroa Speg.
ชื่อสามัญ::
-
-
ชื่อไทย:
-
ชะอม
-
ผักคา
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักหละ ผักหา
-
Cha Oam
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Senegalia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:42 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:42 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๕ ม. ลำต้นและกิ่งก้าน มีหนามแหลมปกคลุม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบอ่อนมีกลิ่นฉุน เฉพาะตัว ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มีดอกย่อยสีเหลืองอ่อนๆ จำนวนมาก ผลเป็นฝักแบน ออกดอกช่วงเดือนเมษายน – กรกฎาคม ขยายพันธุ์โดยการปักชำต้นและกิ่ง
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๕ ม. ลำต้นและกิ่งก้าน มีหนามแหลมปกคลุม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบอ่อนมีกลิ่นฉุน เฉพาะตัว ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มีดอกย่อยสีเหลืองอ่อนๆ จำนวนมาก ผลเป็นฝักแบน ออกดอกช่วงเดือนเมษายน – กรกฎาคม ขยายพันธุ์โดยการปักชำต้นและกิ่ง
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๕ ม. ลำต้นและกิ่งก้าน มีหนามแหลมปกคลุม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบอ่อนมีกลิ่นฉุน เฉพาะตัว ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มีดอกย่อยสีเหลืองอ่อนๆ จำนวนมาก ผลเป็นฝักแบน ออกดอกช่วงเดือนเมษายน – กรกฎาคม ขยายพันธุ์โดยการปักชำต้นและกิ่ง
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๕ ม. ลำต้นและกิ่งก้าน มีหนามแหลมปกคลุม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบอ่อนมีกลิ่นฉุน เฉพาะตัว ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มีดอกย่อยสีเหลืองอ่อนๆ จำนวนมาก ผลเป็นฝักแบน ออกดอกช่วงเดือนเมษายน – กรกฎาคม ขยายพันธุ์โดยการปักชำต้นและกิ่ง
การกระจายพันธุ์ :
-
-
-
-
-
-
-
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
สุราษฎร์ธานี
ที่มาของข้อมูล
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Mallotus plicatus
Amaranthus hybridus
ดีหมี
Cleidion brevipetiolatum
Pseudobarbella assimilis
Rubus rufus
Greenea corymbosa
Previous
Next