Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Diospyros pilosanthera
Diospyros pilosanthera
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Diospyros pilosanthera
Blanco
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Kaling
ชื่อไทย:
-
กะลิง
-
ทะยิง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ดำดง (ปราจีนบุรี), ทะยิง (นครนายก), พลับ (ระนอง), โมฬี (จันทบุรี), ไม้ดำ (นนทบุรี), ไม้เนียน (ตรัง), กะลิง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Ebenaceae
สกุล:
Diospyros
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:44 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:44 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกนอกสีดำ
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 3-8 ซม. ยาว 8-20 ซม. ปลายสอบมน โคนมนหรือสอบ แผ่นใบค่อนข้างบาง ใบอ่อนมีขนนุ่มและจะค่อยๆ ร่วงไป
ดอก : แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้เป็นช่อสั้น ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ 8-16 อัน อับเรณูมีขนแซมตามแนวกลาง อาจมีรังไข่ไม่สมบูรณ์ที่มีขนประปรายทางด้านนอก ดอกเพศเมีย สีขาวอมเหลือง ออกเดี่ยวๆ หรือออกเป็นช่อสั้นๆ ตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ ลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ แต่ใหญ่กว่า ก้านดอกสั้นมากหรือมองไม่เห็น รังไข่ป้อม มีขนสั้นหนาแน่น มี 8-10 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียมีอันเดียวและมีขนสั้นๆ แน่น เกสรเพศผู้ไม่สมบูรณ์ 4-6 อัน
ผล : ป้อมหรือรูปไข่ ปลายมนหรือบุ๋มเล็กน้อย ผลอ่อนมีขนสั้นๆ แน่น และจะร่วงไปเมื่อผลแก่ ก้านผลยาว 2-3 มม.
เมล็ด : แข็ง รูปจันทร์เสี้ยวหรือรูปไต
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกนอกสีดำ
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 3-8 ซม. ยาว 8-20 ซม. ปลายสอบมน โคนมนหรือสอบ แผ่นใบค่อนข้างบาง ใบอ่อนมีขนนุ่มและจะค่อยๆ ร่วงไป
ดอก : แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้เป็นช่อสั้น ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ 8-16 อัน อับเรณูมีขนแซมตามแนวกลาง อาจมีรังไข่ไม่สมบูรณ์ที่มีขนประปรายทางด้านนอก ดอกเพศเมีย สีขาวอมเหลือง ออกเดี่ยวๆ หรือออกเป็นช่อสั้นๆ ตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ ลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ แต่ใหญ่กว่า ก้านดอกสั้นมากหรือมองไม่เห็น รังไข่ป้อม มีขนสั้นหนาแน่น มี 8-10 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียมีอันเดียวและมีขนสั้นๆ แน่น เกสรเพศผู้ไม่สมบูรณ์ 4-6 อัน
ผล : ป้อมหรือรูปไข่ ปลายมนหรือบุ๋มเล็กน้อย ผลอ่อนมีขนสั้นๆ แน่น และจะร่วงไปเมื่อผลแก่ ก้านผลยาว 2-3 มม.
เมล็ด : แข็ง รูปจันทร์เสี้ยวหรือรูปไต
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกนอกสีดำ
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 3-8 ซม. ยาว 8-20 ซม. ปลายสอบมน โคนมนหรือสอบ แผ่นใบค่อนข้างบาง ใบอ่อนมีขนนุ่มและจะค่อยๆ ร่วงไป
ดอก : แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้เป็นช่อสั้น ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ 8-16 อัน อับเรณูมีขนแซมตามแนวกลาง อาจมีรังไข่ไม่สมบูรณ์ที่มีขนประปรายทางด้านนอก ดอกเพศเมีย สีขาวอมเหลือง ออกเดี่ยวๆ หรือออกเป็นช่อสั้นๆ ตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ ลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ แต่ใหญ่กว่า ก้านดอกสั้นมากหรือมองไม่เห็น รังไข่ป้อม มีขนสั้นหนาแน่น มี 8-10 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียมีอันเดียวและมีขนสั้นๆ แน่น เกสรเพศผู้ไม่สมบูรณ์ 4-6 อัน
ผล : ป้อมหรือรูปไข่ ปลายมนหรือบุ๋มเล็กน้อย ผลอ่อนมีขนสั้นๆ แน่น และจะร่วงไปเมื่อผลแก่ ก้านผลยาว 2-3 มม.
เมล็ด : แข็ง รูปจันทร์เสี้ยวหรือรูปไต
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกนอกสีดำ
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 3-8 ซม. ยาว 8-20 ซม. ปลายสอบมน โคนมนหรือสอบ แผ่นใบค่อนข้างบาง ใบอ่อนมีขนนุ่มและจะค่อยๆ ร่วงไป
ดอก : แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้เป็นช่อสั้น ออกตามง่ามใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ 8-16 อัน อับเรณูมีขนแซมตามแนวกลาง อาจมีรังไข่ไม่สมบูรณ์ที่มีขนประปรายทางด้านนอก ดอกเพศเมีย สีขาวอมเหลือง ออกเดี่ยวๆ หรือออกเป็นช่อสั้นๆ ตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ ลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ แต่ใหญ่กว่า ก้านดอกสั้นมากหรือมองไม่เห็น รังไข่ป้อม มีขนสั้นหนาแน่น มี 8-10 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียมีอันเดียวและมีขนสั้นๆ แน่น เกสรเพศผู้ไม่สมบูรณ์ 4-6 อัน
ผล : ป้อมหรือรูปไข่ ปลายมนหรือบุ๋มเล็กน้อย ผลอ่อนมีขนสั้นๆ แน่น และจะร่วงไปเมื่อผลแก่ ก้านผลยาว 2-3 มม.
เมล็ด : แข็ง รูปจันทร์เสี้ยวหรือรูปไต
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นสีดำ ผลดิบสีเขียวจะฝาด เวลาสุกก็จะมีสีเขียวและมีรอยปริๆ หวาน ผลมีลักษณะกลม หรือรีแล้วแต่ต้น เท่าหัวแม่มือ เมล็ดข้างในคล้ายเมล็ดละมุด ออกผลช่วงดำนา จากต้นไม้แบบบ้านๆ มาสู่ไม้ประดับ ที่นับวันจะใกล้สูญพันธุ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พังงา
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ชัยภูมิ
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
สระแก้ว
-
กระบี่, ตรัง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
พังงา
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สระแก้ว
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ขี้หนอน
Schoepfia fragrans
Henckelia filicalyx
Eriochloa procera
Calypogeia arguta
Lindernia mollis
Garuga pinnata
Previous
Next