Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Indigofera sootepensis
Indigofera sootepensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Indigofera sootepensis
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ครามป่า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Indigofera
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ใบประกอบแบบขนนก ช่อดอกตั้งตรง เกิดที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลีบกลางสีน้ำตาลไหม้เข้ม กลีบปีกสีส้มอ่อน กลีบคู่ล่างสีส้มอ่อน ปลายสีเข้มขึ้นเป็นสีน้ำตาลไหม้ เกสรเพศผู้สีขาวอมเขียว เกสรเพศเมียสีน้ำตาลแดง ออกดอกเดือนกรกฎาคม
-
ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ใบประกอบแบบขนนก ช่อดอกตั้งตรง เกิดที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลีบกลางสีน้ำตาลไหม้เข้ม กลีบปีกสีส้มอ่อน กลีบคู่ล่างสีส้มอ่อน ปลายสีเข้มขึ้นเป็นสีน้ำตาลไหม้ เกสรเพศผู้สีขาวอมเขียว เกสรเพศเมียสีน้ำตาลแดง ออกดอกเดือนกรกฎาคม
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามที่โล่ง ชายป่าดิบแล้ง
-
N Thailand: Mae Hong Son (Khun Yuam)
-
พบตามที่โล่ง ชายป่าดิบแล้ง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
อุตรดิตถ์,แพร่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Pine deciduous dipterocarp forest, 600 − 700 m.
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เอื้องสายน้ำผึ้ง
Dendrobium pirmulinum
Stemona involuta
Pyrrosia rasamalae
Cymbopogon flexuosus
Gmelina elliptica
Racopilum orthocarpum
Previous
Next