Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Devario regina
Devario regina
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Devario regina
(Fowler, 1934)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Danio regina Fowler, 1934
ชื่อสามัญ::
-
Queen danio
ชื่อไทย::
-
ซิวใบไผ่
-
ปลาซิวใบไผ่
-
ซิวใบไผ่ราชินี
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Cypriniformes
วงศ์::
Cyprinidae
สกุล:
Devario
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ต.ค. 2562
วันที่อัพเดท :
9 ก.ย. 2562 20:30 น.
วันที่สร้าง:
9 ก.ย. 2562 20:30 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ปลาซิวใบไผ่ราชินี เป็นปลาขนาดเล็ก ลำตัวยาวเพรียว มีหนวดสั้น ๒ คู่ ตอนบน ของลำตัวสีเทาอมชมพู ท้องและลำตัวมีประกายเป็นสีเขียวสดใส มีจุดดำจาง ๆ อยู่หลังช่องเหงือก
-
ปลาซิวใบไผ่ราชินี เป็นปลาขนาดเล็ก ลำตัวยาวเพรียว มีหนวดสั้น ๒ คู่ ตอนบน ของลำตัวสีเทาอมชมพู ท้องและลำตัวมีประกายเป็นสีเขียวสดใส มีจุดดำจาง ๆ อยู่หลังช่องเหงือก
-
เป็นปลาที่มีสีสันบริเวณข้างลำตัวคล้ายใบไผ่ขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร
-
ปลาซิวใบไผ่ราชินี เป็นปลาขนาดเล็ก ลำตัวยาวเพรียว มีหนวดสั้น ๒ คู่ ตอนบน ของลำตัวสีเทาอมชมพู ท้องและลำตัวมีประกายเป็นสีเขียวสดใส มีจุดดำจาง ๆ อยู่หลังช่องเหงือก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พังงา
-
นครศรีธรรมราช
-
หนองคาย
-
สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
-
ลุ่มน้ำปิง
-
น้ำตกธารทิพย์
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
Fresh Water
การกระจายพันธุ์ :
-
ประเทศอินเดีย เมียนมาร์ ไทย จนถึงคาบสมุทรมลายู
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
Freshwater FISHES IN THAILAND
กรมประมง
กรมป่าไม้
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Leptomya spectabilis
เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก
Accipiter virgatus
Erianthus manueli
Paracalanus aculeatus
Porcellanella triloba
Solenocera melantho
Previous
Next