Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Desmodium triflorum
Desmodium triflorum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Desmodium triflorum
(L.) DC.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Perrottetia DC.
ชื่อสามัญ::
-
three-flowered beggarweed
ชื่อไทย:
-
หญ้าเกล็ดหอย
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักแว่นโคก หญ้าตานทราย หญ้าตานหอย
-
หญ้าเกล็ดหอย เกล็ดปลา (กรุงเทพฯ) ผักแว่นดอย(แม่ฮ่องสอน) หนู่เต๊าะโพ (กะเหรี่ยงมแม่ฮ่องสอน) หญ้าตานทราย(เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน๗ หญ้าตานหอย(ภาคกลาง) ผักแว่นโคก (นครศรีธรรมราช)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Desmodium
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
-
ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
-
ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
-
ไม้ล้มลุกคลุมดิน ลำต้นแตกกิ่งทอดขนานกับพื้น กิ่งอ่อน และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อยสามใบ รูปไข่กลับ ขนาด 0.5-1 ซม. ด้านล่างมีขนสีขาว หูใบย่อยขนาดเล็ก มาก ดอก สีม่วง ออกเป็นช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอกโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 10 อัน ผล เป็นฝักแบน โค้งเล็กน้อย ยาวได้ถึง 1.7 ซม. หยักเป็นข้อระหว่างเมล็ด 3-5 ข้อ เมื่อแห้งแต่ละข้อจะหลุดจากกัน เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
-
เป็นพืชล้มลุก สูง 4.5-12.5 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 0.6-1.1 มิลลิเมตร ช่อดอกยาว 0.5-2.5 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
-
พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
-
พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
-
พบกระจายในเขตร้อนทั่วไป ประเทศไทยพบขึ้นกระจายทุกภาค ที่ระดับความสูงได้ถึง 1,300 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พบขึ้นทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในสภาพดินเหนียว ดินทราย และดินลูกรัง ในสวนป่า ที่สาธารณะ และตามข้างถนน เช่นพบที่จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดขอนแก่น จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเชียงราย และจังหวัดพังงา
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชล้มลุกทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ลำต้นมีขนสั้นๆละเอียดปกคลุมหนาแน่น ลำต้นมีขนสั้นๆละเอียดปกคลุมหนาแน่น ใบประกอบแบบขนนกมีใบย่อย 3 ใบ (trifoliate) ใบคล้ายรูปหัวใจกลับ ปลายใบเว้าตื้น หน้าใบไม่มีขน หลังใบไม่มีขน หลังใบมีขนน้อยถึงน้อยมาก ลำต้นมีขนสั้นๆปกคลุมหนาแน่น ขอบใบเรียบ (entire) ออกดอกที่ปลายยอดและตามซอกใบ กลีบดอกสีม่วงสดหรือสีม่วงบานเย็น มีดอกย่อย 2-6 ดอก ฝักคอดเป็นข้อๆ 1-6 ข้อ ออกดอกติดเมล็ดตลอดทั้งปี
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, อุบลราชธานี, ขอนแก่น, พิษณุโลก, เชียงราย, พังงา
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1022323
1022323
2
PRJNA1000706
1000706
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Microsorum insigne
Capparis pranensis
Allamanda neriifolia
Phyllanthus debilis
Gynura pseudochina
Pavetta pitardii
Previous
Next