Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Derris indica
Derris indica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Derris indica
(Lam.) Benn.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
หยีทะเล
-
หยีน้ำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
กายี ราโยด ปากี้ ปารี
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Pongamia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ทั่วไป ไม้ต้น สูง 5–20) ม. เรือนยอดค่อนข้างกลม ถึงแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลำต้นมักคดงอและแตกกิ่งต่ำ เปลือกเรียบ สีเขียวแกมน้ำตาลเทาคล้ำ ผิวเปลือกในสีเขียว เปลือกชั้นในสีน้ำตาลอ่อนประขาว ใบ ประกอบรูปขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบรวมแกนช่อใบยาว 10–15 ซม. ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน 3 คู่ และที่ปลายก้านอีก 1 ใบ แผ่นใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ เรียงจากเล็กไปหาใหญ่ กว้าง 3–4.5 ซม. ยาว 5–12 ซม. ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มกว่าด้านล่าง ปลายเรียวแหลม โคนสอบ เส้นแขนงใบย่อย 8–10 คู่ ดอก สีชมพู เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล ค่อนข้างแบน เบี้ยว รูปขอบขนาน ปลายแหลมโค้งลง กว้าง 2.5–3 ซม. ยาว 5–7.5 ซม. มี 1–2 เมล็ด
-
ทั่วไป ไม้ต้น สูง 5–20) ม. เรือนยอดค่อนข้างกลม ถึงแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลำต้นมักคดงอและแตกกิ่งต่ำ เปลือกเรียบ สีเขียวแกมน้ำตาลเทาคล้ำ ผิวเปลือกในสีเขียว เปลือกชั้นในสีน้ำตาลอ่อนประขาว ใบ ประกอบรูปขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบรวมแกนช่อใบยาว 10–15 ซม. ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน 3 คู่ และที่ปลายก้านอีก 1 ใบ แผ่นใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ เรียงจากเล็กไปหาใหญ่ กว้าง 3–4.5 ซม. ยาว 5–12 ซม. ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มกว่าด้านล่าง ปลายเรียวแหลม โคนสอบ เส้นแขนงใบย่อย 8–10 คู่ ดอก สีชมพู เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล ค่อนข้างแบน เบี้ยว รูปขอบขนาน ปลายแหลมโค้งลง กว้าง 2.5–3 ซม. ยาว 5–7.5 ซม. มี 1–2 เมล็ด
-
ทั่วไป ไม้ต้น สูง 5–20) ม. เรือนยอดค่อนข้างกลม ถึงแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลำต้นมักคดงอและแตกกิ่งต่ำ เปลือกเรียบ สีเขียวแกมน้ำตาลเทาคล้ำ ผิวเปลือกในสีเขียว เปลือกชั้นในสีน้ำตาลอ่อนประขาว ใบ ประกอบรูปขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบรวมแกนช่อใบยาว 10–15 ซม. ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน 3 คู่ และที่ปลายก้านอีก 1 ใบ แผ่นใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ เรียงจากเล็กไปหาใหญ่ กว้าง 3–4.5 ซม. ยาว 5–12 ซม. ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มกว่าด้านล่าง ปลายเรียวแหลม โคนสอบ เส้นแขนงใบย่อย 8–10 คู่ ดอก สีชมพู เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล ค่อนข้างแบน เบี้ยว รูปขอบขนาน ปลายแหลมโค้งลง กว้าง 2.5–3 ซม. ยาว 5–7.5 ซม. มี 1–2 เมล็ด
-
ทั่วไป ไม้ต้น สูง 5–20) ม. เรือนยอดค่อนข้างกลม ถึงแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลำต้นมักคดงอและแตกกิ่งต่ำ เปลือกเรียบ สีเขียวแกมน้ำตาลเทาคล้ำ ผิวเปลือกในสีเขียว เปลือกชั้นในสีน้ำตาลอ่อนประขาว ใบ ประกอบรูปขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบรวมแกนช่อใบยาว 10–15 ซม. ใบย่อยเรียงตรงข้ามกัน 3 คู่ และที่ปลายก้านอีก 1 ใบ แผ่นใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ เรียงจากเล็กไปหาใหญ่ กว้าง 3–4.5 ซม. ยาว 5–12 ซม. ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มกว่าด้านล่าง ปลายเรียวแหลม โคนสอบ เส้นแขนงใบย่อย 8–10 คู่ ดอก สีชมพู เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล ค่อนข้างแบน เบี้ยว รูปขอบขนาน ปลายแหลมโค้งลง กว้าง 2.5–3 ซม. ยาว 5–7.5 ซม. มี 1–2 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบที่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามฝั่งแม่น้ำใกล้ทะเล และในป่าชายหาดทาง
-
พบที่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามฝั่งแม่น้ำใกล้ทะเล และในป่าชายหาดทาง
-
พบที่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามฝั่งแม่น้ำใกล้ทะเล และในป่าชายหาดทาง
-
พบที่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามฝั่งแม่น้ำใกล้ทะเล และในป่าชายหาดทาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
ป่าชายเลนคุระบุรี, อ่าวจาก คลองคุระบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พังงา
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 3 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศทะเลและชายฝั่ง, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Amorphophallus reflexus
Diospyros discocalyx
Acilepis silhetensis
Stenochlaena palustris
Coreopsis tinctoria
Habenaria hosseusii
Previous
Next