Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Dendronanthus indicus
Dendronanthus indicus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Dendronanthus indicus
(Gmelin, 1789)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Motacilla indica J.F.Gmelin, 1789
ชื่อสามัญ::
-
Forest Wagtail
-
F0rest WagtailL
ชื่อไทย:
-
นกเด้าลมดง
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกเด้าลมดง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Motacillidae
สกุล:
Dendronanthus
ที่มา :
ศูนย์การเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและความยั่งยืน "ชีวพนาเวศ"
ปรับปรุงล่าสุด :
8 พ.ค. 2568
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:49 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:49 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
คิ้วขาว แถบหน้าสีคล้ำ ขนลำตัวน้ำตาลแกมเขียว ลำตัวด้านล่างขาวแกมเหลืองมีแถบหนาสีดำพาดอก 2 แถบ แต่แถบล่างไม่ต่อกัน ปีกดำมีแถบขาวหรือแกมเหลืองอ่อน
ระบบนิเวศ :
-
เดินหาดกินบนพื้นดิน เมื่อตกใจจะบินขึ้นไปเกาะกิ่งไม้ มักพบตามริมถนนหรือทางเดินบริเวณชายป่าดิบ ป่าโปร่ง สวนผลไม้ และสวนสาธารณะ ที่ราบถึงความสูง 1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศป่าไม้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
พังงา
-
พะเยา
-
กระบี่
-
นครสวรรค์
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-B-03662
NSM
Phatthalung
THNHM-B-03663
NSM
-
THNHM-B-03664
NSM
Kanchanaburi
THNHM-B-03665
NSM
Trang
THNHM-B-09809
NSM
Suphan buri
THNHM-B-09810
NSM
Suphan buri
THNHM-B-09811
NSM
Ubon ratchathani
THNHM-B-09812
NSM
Ubon ratchathani
THNHM-B-09813
NSM
Chanthaburi
THNHM-B-09814
NSM
Phangnga
THNHM-B-10953
NSM
-
THNHM-B-11846
NSM
Rayong
THNHM-B-11847
NSM
Rayong
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA921658
921658
2
PRJNA805724
805724
3
PRJNA356768
356768
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นกภูหงอนท้องขาว
Erpornis zantholeuca
Tachysurus venosus
Dromothelphusa namuan
Synodus variegatus
ปะการังช่องเล็ก
Montipora tuberculosa
แมลงปอเข็มเรียวปลายฟ้า แมลงปอน้ำตก
Aciagrion borneense
Previous
Next