Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cymbopogon cambogiensis
Cymbopogon cambogiensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cymbopogon cambogiensis
(Balansa) E.G.Camus & A.Camus
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Andropogon cambodiensis Balansa
- Andropogon cambogiensis Balansa
- Cymbopogon siamensis Bor
ชื่อไทย:
-
หญ้าพริกพราน
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าพริกพราน
-
หญ้าพริกพราน (ชัยนาท)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Cymbopogon
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:29 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Perennial tufted herb.
-
ความสูงของต้น 118.44 - 147.86 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.51 - 1.71 มิลลิเมตร ใบยาว 17.19-22.07 เซนติเมตร กว้าง 1.05-1.27 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
Lowland savannah, deciduous forest, ca 50 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Indochina.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChaiNat,SuphanBuri,PrachinBuri,Chanthaburi,Chumphon
-
เพชรบูรณ์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี (perennial) กอค่อนข้างแผ่เล็กน้อย ลำต้นเรียบ สีเขียวอมน้ำตาลอ่อน ขนาดเล็กค่อนข้างอ่อนสานพันกัน ส่วนข้อที่ติดพื้นดินไม่มีรากงอก ข้อสีเขียวอมม่วงแดง มีขนเล็กน้อยยาวประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร ใบเป็นแบบรูปใบหอก (lanceolate) ส่วนโคนและปลายใบเรียวแหลม (acuminate) ขนาดใบแคบ ผิวใบเรียบ สีเขียว ค่อนข้างนุ่ม และมีความหนืดเล็กน้อย ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อยถี่ (serrulate) โคนใบมีขนเล็กน้อยยาวประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร กาบใบยาวมีสีเขียวอ่อน ส่วนที่รับแสงมีสีม่วงแดง ลิ้นใบแบบแผ่นขอบหยักสั้นๆ (membranous-serrate) เริ่มออกดอกเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนเมษายน ดอกออกที่ปลายยอดและตาข้าง ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง (panicle) กลุ่มช่อดอกย่อยมีลักษณะแบบรวมกันเป็นกระจุก แต่แยกเกาะกันเป็นคู่ๆ แต่ละกลุ่มอาจมีใบเทียม (spathe) รองรับและไม่มีก้านดอก (sessile) ดอกสีเขียวนวล มีหาง (awn) ยาวประมาณ 2 - 4 มิลลิเมตร ดอกแก่จะแห้งไม่ร่วง ใบสดที่ถูกขยี้จะมีกลิ่นคล้ายน้ำมันหอมระเหย (aromatic oil)
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ตำบลน้ำหนาว อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Impatiens macrosepala
Dendrobium capillipes
Cymbopogon flexuosus
Burmannia lutescens
Ulmus lanceifolia
Disporopsis longifolia
Previous
Next