-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid, lithophytic orchid
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปไข่ กว้าง 5-7 ซม. สูง 9-15 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด กว้าง 3-4 ซม. ยาว 40-70 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 1-1.5 เมตร จำนวน 5-10 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอมเขียว ปลายกลีบปากสีแดงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 8 ซม. พบตามป่าดิบ ที่ระดับความสูง 1,300-2,300 เมตร ทางภาคเหนือ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปไข่ กว้าง 5-7 ซม. สูง 9-15 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด กว้าง 3-4 ซม. ยาว 40-70 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 1-1.5 เมตร จำนวน 5-10 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอมเขียว ปลายกลีบปากสีแดงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 8 ซม. พบตามป่าดิบ ที่ระดับความสูง 1,300-2,300 เมตร ทางภาคเหนือ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปไข่ กว้าง 5-7 ซม. สูง 9-15 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด กว้าง 3-4 ซม. ยาว 40-70 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 1-1.5 เมตร จำนวน 5-10 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอมเขียว ปลายกลีบปากสีแดงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 8 ซม. พบตามป่าดิบ ที่ระดับความสูง 1,300-2,300 เมตร ทางภาคเหนือ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปไข่ กว้าง 5-7 ซม. สูง 9-15 ซม. มีกาบใบหุ้ม ใบ รูปเข็มขัด กว้าง 3-4 ซม. ยาว 40-70 ซม. ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 1-1.5 เมตร จำนวน 5-10 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอมเขียว ปลายกลีบปากสีแดงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 8 ซม. พบตามป่าดิบ ที่ระดับความสูง 1,300-2,300 เมตร ทางภาคเหนือ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
ระบบนิเวศ :
-
Hill evergreen forest, 1,300-2,000 m alt.
-
การกระจายพันธุ์ :
-
NE India, Myanmar, S China, Vietnam.
-
จีนตอนใต้ เมียนม่าร์ ไทย และเวียดนาม
-
Himalaya, N Thailand: Chiang Mai
-
จีนตอนใต้ เมียนม่าร์ ไทย และเวียดนาม
-
จีนตอนใต้ เมียนม่าร์ ไทย และเวียดนาม
-
จีนตอนใต้ เมียนม่าร์ ไทย และเวียดนาม
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,ChiangRai
-
เชียงใหม่, ดอยเชียงดาว, ดอยอินทนนท์, ดอยนางแก้ว, ดอยขุนห้วยโป่ง, เชียงราย
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กล้วยไม้อาศัยตามพื้นดิน
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Lower and upper montanr forests, 1300 − 2300 m.